ดาวเทียมตรวจจับสสารมืดดวงแรกของจีน หรือ หงอคง ฉลองปฏิบัติการครบ 1 ปี ด้วยการพบสสารมืดมากกว่าที่คาดไว้
ตลอด 1 ปีของการปฏิบัติการ ดาวเทียม หงอคง ตรวจพบสสารมืด 1,800 ล้านสสารแล้ว โดยในจำนวนนี้ เป็น อเล็กตรอนพลังงานสูงมากกว่า 1 ล้านอิเล็กตรอน ซึ่งอิเล็กตรอนเหล่านี้สำคัญต่อการศึกษาหลอมรวมของสสารมืดอย่างมาก
นอกจากนี้ ชิ้นส่วนหลักของดาวเทียม ยังคงอยู่ในสภาพดีและทำงานได้อย่างปกติ
ดาวเทียมหงอคง ตั้งชื่อตามตัวละครตำนานไซอิ๋วของจีน ถูกปล่อยขึ้นสู่วงโคจรเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 2558 ด้วยจรวดขนส่งดาวเทียมฉางเจิง 2-ดี โดยจีนออกแบบดาวเทียมดวงนี้มาให้ปฏิบัติการนาน 3 ปี โดยใน 2 ปีแรกจะสแกนอวกาศ 2 รอบตัวทุกทิศทาง แล้วจึงค่อยเจาะศึกษาบริเวณที่สสารมืดอยู่หนาแน่นที่สุดในปีที่ 3
สมมติฐานสสารมืดนั้น มีบทบาทหลักต่อทฤษฎีการก่อตัวโครงสร้างจักรวาลและการก่อตัวของกาแล็กซี ที่ได้รับการยอมรับในปัจจุบัน
http://www.bangkokbiznews.com/news/detail/732359
ดาวเทียม‘หงอคง’เจออิเล็กตรอนพลังงานสูงอื้อ
ตลอด 1 ปีของการปฏิบัติการ ดาวเทียม หงอคง ตรวจพบสสารมืด 1,800 ล้านสสารแล้ว โดยในจำนวนนี้ เป็น อเล็กตรอนพลังงานสูงมากกว่า 1 ล้านอิเล็กตรอน ซึ่งอิเล็กตรอนเหล่านี้สำคัญต่อการศึกษาหลอมรวมของสสารมืดอย่างมาก
นอกจากนี้ ชิ้นส่วนหลักของดาวเทียม ยังคงอยู่ในสภาพดีและทำงานได้อย่างปกติ
ดาวเทียมหงอคง ตั้งชื่อตามตัวละครตำนานไซอิ๋วของจีน ถูกปล่อยขึ้นสู่วงโคจรเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 2558 ด้วยจรวดขนส่งดาวเทียมฉางเจิง 2-ดี โดยจีนออกแบบดาวเทียมดวงนี้มาให้ปฏิบัติการนาน 3 ปี โดยใน 2 ปีแรกจะสแกนอวกาศ 2 รอบตัวทุกทิศทาง แล้วจึงค่อยเจาะศึกษาบริเวณที่สสารมืดอยู่หนาแน่นที่สุดในปีที่ 3
สมมติฐานสสารมืดนั้น มีบทบาทหลักต่อทฤษฎีการก่อตัวโครงสร้างจักรวาลและการก่อตัวของกาแล็กซี ที่ได้รับการยอมรับในปัจจุบัน
http://www.bangkokbiznews.com/news/detail/732359