อ.นพ.ธวัชชัย ได้ตั้งข้อสังเกตว่า เมื่อวันที่ 14 พ.ค. ผู้ป่วยซึ่งหมายถึงพระธัมมชโย นอนราบไม่ได้หนุนขาซ้าย ดมหน้ากากออกซิเจน แต่ไม่ได้ต่อถังออกซิเจน รวมทั้งสายวัดความเข้มข้นของออกซิเจนในเลือด (Oxygen Saturation) ก็ไม่ได้ติดตั้ง อีกทั้งมอนิเตอร์อยู่ห่างไกล ส่วนแพทย์ตรวจร่างกายฟังปอดทะลุผ่านจีวรผ้าห่ม แปะสายเข้าทางหลอดเลือดดำ (IV หรือ Intra venous) ใกล้ข้อมือโดยไม่มีเครื่องควบคุมการให้สารละลายทางหลอดเลือด (Infusion Pump Control)
จากนั้นวันที่ 22 พ.ค. ฉากปรับปรุงขึ้น หนุนขาแล้ว ดมหน้ากากออกซิเจน ผ่านอุปกรณ์ควบคุมอัตราการไหลของออกซิเจน (Flowmeter) ขวดทำความชื้น (Humidifier) ต่อถังออกซิเจน สายวัดความเข้มข้นของออกซิเจนในเลือดติดปลายนิ้วแล้ว สายตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (EKG monitor) และถุงลมวัดความดันโลหิต (Blood Pressure Cuff) อยู่ในตะแกรง สายเข้าทางหลอดเลือดดำไม่มีแล้ว มีเครื่องกระตุกหัวใจไฟฟ้า (Defibrillator) ชุดอุปกรณ์ฉุกเฉิน (Emergency Kit) อุปกรณ์ป้องกันระบบหายใจ (Respirator) โต๊ะเมโยเหนือเตียง (Mayo overbed) รถทำแผล ซึ่งสงสัยว่าเพียงพอหรือไม่
นอกจากนี้ ยังตั้งข้อสังเกตว่า ผู้ป่วยอาการหนักนานกว่า 2 สัปดาห์ สภาพภายในห้องควรเป็นอย่างไร กินนอนขับถ่ายเช็ดตัวกันอย่างไร แพทย์พยาบาลนั่งเฝ้ากันตรงไหน ยิ่งดูวีดีโอเห็นภาพต่อเนื่องแล้ว ยังสงสัยว่า โฆษกบอกว่า อยู่ในห้องพักฟื้นเป็นพื้นที่ปลอดเชื้อ
ออกอาการร้อนตัว ให้สื่อเขียนตัวเลข ยืนถือหนังสือพิมพ์ถ่ายรูป คนที่ทำงานในวงการแพทย์พยาบาลมานาน มีความรู้ประสบการณ์ด้านวิกฤตจะไม่มองแค่เท้าคนไข้
แต่ยังรวมถึงสัญญาณชีพ (Vital Signs)
ระบบการคัดกรองผู้ป่วยแบบ ESI,
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินและจัดแบ่งกลุ่มผู้ป่วยตามความรุนแรงของโรค (APACHE score)
อีกทั้งกรณีที่บอกว่าอาการหนักจนไม่สามารถเดินทางมาโรงพยาบาลได้ ต้องรักษาที่วัด
ถือว่าผิดหลักการแพทย์ ไม่เช่นนั้นจะมีระบบ EMS ไว้ทำไม
https://www.facebook.com/tavatchai.ka...
ธัมมชโยขาบวม คดีสหกรณ์ อาบัติปาราชิก บิดเบือนคำสอน
เหตุเกิดที่วัดพระธรรมกาย ธัมมชโยขาบวม คดีสหกรณ์ อาบัติปาราชิก บิดเบือนคำสอน
จากนั้นวันที่ 22 พ.ค. ฉากปรับปรุงขึ้น หนุนขาแล้ว ดมหน้ากากออกซิเจน ผ่านอุปกรณ์ควบคุมอัตราการไหลของออกซิเจน (Flowmeter) ขวดทำความชื้น (Humidifier) ต่อถังออกซิเจน สายวัดความเข้มข้นของออกซิเจนในเลือดติดปลายนิ้วแล้ว สายตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (EKG monitor) และถุงลมวัดความดันโลหิต (Blood Pressure Cuff) อยู่ในตะแกรง สายเข้าทางหลอดเลือดดำไม่มีแล้ว มีเครื่องกระตุกหัวใจไฟฟ้า (Defibrillator) ชุดอุปกรณ์ฉุกเฉิน (Emergency Kit) อุปกรณ์ป้องกันระบบหายใจ (Respirator) โต๊ะเมโยเหนือเตียง (Mayo overbed) รถทำแผล ซึ่งสงสัยว่าเพียงพอหรือไม่
นอกจากนี้ ยังตั้งข้อสังเกตว่า ผู้ป่วยอาการหนักนานกว่า 2 สัปดาห์ สภาพภายในห้องควรเป็นอย่างไร กินนอนขับถ่ายเช็ดตัวกันอย่างไร แพทย์พยาบาลนั่งเฝ้ากันตรงไหน ยิ่งดูวีดีโอเห็นภาพต่อเนื่องแล้ว ยังสงสัยว่า โฆษกบอกว่า อยู่ในห้องพักฟื้นเป็นพื้นที่ปลอดเชื้อ
ออกอาการร้อนตัว ให้สื่อเขียนตัวเลข ยืนถือหนังสือพิมพ์ถ่ายรูป คนที่ทำงานในวงการแพทย์พยาบาลมานาน มีความรู้ประสบการณ์ด้านวิกฤตจะไม่มองแค่เท้าคนไข้
แต่ยังรวมถึงสัญญาณชีพ (Vital Signs)
ระบบการคัดกรองผู้ป่วยแบบ ESI,
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินและจัดแบ่งกลุ่มผู้ป่วยตามความรุนแรงของโรค (APACHE score)
อีกทั้งกรณีที่บอกว่าอาการหนักจนไม่สามารถเดินทางมาโรงพยาบาลได้ ต้องรักษาที่วัด
ถือว่าผิดหลักการแพทย์ ไม่เช่นนั้นจะมีระบบ EMS ไว้ทำไม
https://www.facebook.com/tavatchai.ka...
ธัมมชโยขาบวม คดีสหกรณ์ อาบัติปาราชิก บิดเบือนคำสอน