ในปี 2006 ประสิทธิภาพการให้บริการข้อมูลสายเคเบิลใต้ทะเลยังแค่ระดับ Gigabytes
ในการให้บริการ Internet traffic
กับ Voice calls @ : PRIMETRICA
.
เส้นทางเคเบิลใต้ทะเล
@
https://goo.gl/ExFpm7
.
วันพฤหัสบดีที่ 26 พฤษภาคม 2016 ที่ผ่านมา
Microsoft กับ Facebook ได้ร่วมกันประกาศว่า
ได้ร่วมมือกันสร้างเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
สายเคเบิลใต้ทะเลความเร็วสูง
High-speed Internet sub-sea cable
ที่เชื่อมโยงระหว่างสหรัฐอเมริกา
และตอนใต้ทวีปยุโรปข้ามมหาสมุทร Atlantic
เพื่อให้รองรับกับความต้องการ Internet ความเร็วสูงและบริการที่ไว้ใจได้
Microsoft's cloud ได้ให้บริการ
Skype Xbox Live Office 365
และ Search-engine Bing และ Azure
ให้บริการรูปแบบ Cloud computing platform
จะได้รับประโยชน์จากโครงข่ายการก่อสร้างเคเบิลใต้ทะเลในครั้งนี้อย่างมาก
Marea คือชื่อเครือข่ายเคเบิลใต้ทะเล
มีระยะทาง 6,600 กิโลเมตร
ประมาณว่ามีประสิทธิภาพการรับส่งข้อมูล
160 terabytes ต่อวินาที
คาดว่าโครงข่ายจะเสร็จพร้อมใช้
งานราวเดือนสิงหาคม 2017
และบริการได้เต็มที่ราวเดือน ตุลาคม 2017
(ไม่มีข้อมูลราคาต้นทุนค่าใช้จ่าย/ค่าก่อสร้าง)
Marea ภาษาสเปญ คือ กระแสน้ำ
สายเคเบิลใต้ทะเลนี้เชื่อมโยงระหว่าง
ตอนเหนือของรัฐ Virginia กับ Bilbao สเปญ
ผู้บริหารโครงการคือ Telxius
กลุ่มบริษัทในเครือ Telefonica
ผู้ให้บริการโครงสร้างพื้นฐาน
ด้านโทรคมนาคมของสเปญ
เมื่องานก่อสร้างแล้วเสร็จตามโครงการ
สายเคเบิลใต้ทะเล Marea
จะเป็นหนึ่งในเครือข่ายที่เชื่อมโยงโลก
เข้าด้วยกันโดยสเปญจะเป็นชุมทางเครือข่าย
ที่เชื่อมไปยัง อัฟริกา เอเชีย ตะวันออกกลาง
และพื้นที่ยุโรปบางส่วน
" เพราะโลกกำลังเดินหน้าไปกับ
พื้นฐานของ Cloud computing
Microsoft จึงได้ลงทุนโครงสร้างพื้นฐาน
Cloud infrastructure เพื่อตอบรับกับ
กระแสความต้องการที่มีมากขึ้นในอนาคต
หลายธุรกิจได้เรียกร้องให้บริษัทให้บริการมากกว่า 200 Cloud services "
Christian Belady ผู้จัดการ
Microsoft data centre strategy ให้สัมภาษณ์
" เรากำลังพัฒนาเทคโนโลยีใหม่
และระบบใหม่อย่างสม่ำเสมอ
เพื่อให้บริการเชื่อมโยงที่ดีที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้
เราต้องการที่จะทำได้มากกว่าใครในโครงการนี้
ทำให้เราไปได้เร็วมากด้วยความร่วมมือกัน
อย่างใกล้ชิดมากกว่าเจ้าอื่น "
Najam Ahmad Facebook vice-president
of network engineering
Microsoft ซื้อหุ้นใน Facebook เมื่อ 9 ปีก่อน
ด้วยการจ่ายเงินค่าหุ้น 240 ล้านเหรียญสหรัฐ
และถือหุ้นเพียงร้อยละ 1.6 ใน Facebook
@
https://goo.gl/amOeCj
.
.
การวางสายเคเบิลใต้น้ำ
เริ่มต้นครั้งแรกในปี 1854
มีการใช้งานเพื่อส่งโทรพิมพ์ระหว่าง Newfoundland กับ Ireland
@
https://goo.gl/x2Gzxw
.
เรื่องราวที่น่าสนใจ
เกี่ยวกับเครือข่ายสายเคเบิลใต้ทะเล
.
1. สิงคโปร์ หนึ่งในชุมทางเคเบิลใต้ทะเล
นอกเหนือจากชุมทางการจราจรทางอากาศ
ชุมทางทางทะเล และชุมทางข้อมูลข่าวสาร
แม้ว่าก่อนหน้านี้ในปี 1900 สิงคโปร์
ยังเป็นจุดหนึ่งที่มีการวางสายเคเบิลใต้ทะเล
เพื่อใช้ติดต่อทางโทรพิมพ์ที่เชื่อมโยง
ระหว่างอังกฤษกับทวีปเอเซีย
จนทุกวันนี้ ระบบเครือข่ายเคเบิลใต้ทะเล
ที่ทันสมัยมากก็ยังตั้งอยู่ในสิงคโปร์
มีการเชื่อมโยงหลายประเทศ
และทุก ๆ ทวีปเข้าด้วยกัน
ยกเว้นทวีป Antarctica (มีแต่นักวิจัย)
ทำให้สิงคโปร์เป็น 1 ในชุมทาง
เชื่อมโยงสายเคเบิลใต้ทะเล
ที่มีทั้งหมดรวม 16 เส้นทาง
ในการให้บริการโทรคมนาคม
ระหว่างประเทศ/เครือข่ายต่าง ๆ
มาตั้งแต่ตุลาคม 2015
มีความสามารถในถ่ายโอนข้อมูล
มากกว่า 114 terabytes ต่อวินาที
.
.
2. อายุการใช้งานเคเบิลใต้ทะเล
สูงสุดราว 25 ปี
แผนที่สายเคเบิลใต้ทะเล TeleGeography
ที่ทำการปรับปรุงล่าสุดในปี 2016
ได้ระบุว่าสายเคเบิลใต้ทะเล
ที่ยังเปิดให้บริการอยู่ 293 เส้นทาง
และระบบที่กำลังก่อสร้าง 28 เส้นทาง
คาดว่าจะให้บริการได้ในช่วงปลายปีนี้
เมื่อสายเคเบิลใต้น้ำมีอายุการใช้งานราว 25 ปี
แล้วจะต้องมีการวางสายทดแทน/ซ่อมแซม
เรือซ่อมแซมแบบพิเศษจะถูกส่งไป
ทำการซ่อมแซมสายเคเบิ้ลเหล่านี้
ถ้าสายเคเบิลใต้ทะเลที่เสียหายที่ระดับความลึกใต้ผิวน้ำน้อยกว่า 6,500 ฟุต (1.981 กิโลเมตร)
หุ่นยนต์จะถูกใช้ลงไปดึงสายเคเบิลขึ้นมา
ยังพื้นผิวน้ำเพื่อซ่อมแซม
แต่ถ้าสายเคเบิลอยู่ลึกเกินไปกว่านั้น
เรือจะใช้ตะขอเกี่ยวทำหน้าที่แทน
ด้วยการลากสายเคเบิลใต้ทะเลขึ้นมาซ่อมแซม
.
.
.
3. การติดตั้งสายเคเบิลใต้ทะเล
มีราคาแพงและการทำงานยากลำบากมาก
ปัญหาในการติดตั้งโทรทัศน์/คอมพิวเตอร์
กลายเป็นเรื่องเล็กน้อยไปเลย
ถ้าเปรียบเทียบกับการติดตั้ง
เครือข่ายสายเคเบิลใต้ทะเล
เพราะขั้นตอนและวิธีการทำงาน
ในการวางสายเคเบิลใต้ทะเล
เป็นเรื่องที่น่าเบื่อต้องใช้เวลานานมาก
และต้องใช้กำลังคนอย่างเพียงพอ
เรือที่บรรทุกสายเคเบิลใต้น้ำ
เพื่อทำการติดตั้งวางสายเคเบิล
ลงบนพื้นมหาสมุทร ต้องมีการตรวจสอบ
และมั้นใจว่าสายเคเบิลเหล่านี้
จะถูกกลบฝังอย่างถูกต้อง
ในขณะเดียวกัน
ต้องพยายามหลีกเลี่ยงแนวปะการัง
การรบกวนชีวิตสัตว์น้ำในมหาสมุทร
รวมทั้งจากการรบกวนจากมนุษย์ที่ไม่หวังดี
/ภัยพิบัติที่มนุษย์ก่อให้เกิดขึ้นด้วยประการใด ๆ
เรือจะสามารถวางสายเคเบิ้ลใต้ทะเล
ได้ราว 100-200 กิโลเมตรต่อวัน
ถ้าไม่มีปัญหาและอุปสรรคที่เป็นข้อจำกัด
ในการทำงาน แบบลมแรง คลื่นแรง
.
.
4. ขนาดของสายเคเบิ้ลใต้ทะเล
แต่ละพื้นที่จะแตกต่างกัน
ระบบเคเบิลใต้ทะเลที่มีความเสี่ยงต่อ
ภัยคุกคาม - เช่น ปลาฉลาม และเรือ
ในบริเวณน้ำตื้นมีขนาดประมาณกระป๋อง Coke
แต่ถ้าในระดับที่ความลึกมาก
จะเรียวบางกว่าราว 17 มิลลิเมตร
สายเหล่านี้มักจะมีฉนวนหุ้มป้องกันหลายชั้น
ภายในมีสายหลักคือ เส้นใยนำแสง
และสายโลหะ บางทีพบสายเคเบิลใต้น้ำ
ที่ระดับความลึก 8,000 เมตร
ซึ่งเทียบเท่ากับความสูงของ Everest (หิมาลัย)
.
.
5. ความเสียหายมักเกิดจาก
ศัตรูภายนอกและสัตว์ใต้ท้องทะเล
ปลาฉลาม มักจะเพลิดเพลินไปกับ
การกัดสายเคเบิลใต้ทะเลเหล่านี้
ยังไม่มีความชัดเจนและเหตุผลที่ปลาฉลามมีพฤติกรรมแปลกประหลาดแบบนี้
" สายเคเบิลใยแก้วนำแสงรุ่นใหม่
ที่มีรสชาติลึกลับ ที่ปลาฉลามไม่เห็นชอบด้วย
กับการวางไปตามท้องทะเล "
New York Times รายงานในปี 1987
ทั้งนี้ปลาฉลามยังเคยโจมตี
สายเคเบิลใต้ทะเลของ Google
จนทำให้ต้องป้องกันสายเคเบิลใต้ทะเล
ด้วยการเสริม Kevlar
ที่มีความเหนียวและทนถึกมาก
ใช้ทำเกราะกันกระสุน/กันของมีคม
ทั้งยังมีภัยคุกคามจากภัยพิบัติทางธรรมชาติ
หรือสมอเรือที่โยนลงไปโดน/ดึงเกี่ยวขึ้นมา
หรือเรือลากอวนที่ลากดึงถูกสายเคเบิลใต้ทะเล
.
ในช่วงสงครามเย็น (1945 - 1991)
สภาความมั่นคงแห่งชาติสหรัฐอเมริกา
ได้ลงมือปฏิบัติการลับภายใต้ชื่อ Ivy Bells
โดยใช้เรือดำน้ำและอุปกรณ์ดักฟังใต้น้ำ
เกาะติดกับสายเคเบิลใต้ทะเล
เพื่อรวบรวมบันทึกและดักฟัง
การส่งสัญญาณจากสายเคเบิลใต้ทะเล
ของฐานทัพเรือสหภาพโซเวียตรัสเซีย
ที่มีการติดต่อกันผ่านสายเคเบิลใต้ทะเล
.
.
ในปี 2013 มีนักประดาน้ำสายลับ 3 คน
ถูกทางการอียิปต์จับได้ที่ท่าเรือ Alexandia
ขณะที่กำลังพยายามที่จะตัดสายเคเบิลใต้ทะเล
เป้าหมายของผู้ก่อวินาศกรรม คือ
การทำลายสายเคเบิล SeaWeMe-4
South-east Asia-Middle East
-Western Europe 4 เส้นทาง
1 ในสายเคเบิลใต้ทะเล 3 เส้น
ที่เชื่อมโยงระหว่างอียิปต์กับยุโรป
.
Kevlar ใช้หุ้มห่อเพื่อป้องกันปลาฉลาม
กัดสายเคเบิลใต้ทะเล
.
6. เคเบิลใต้ทะลจะถูกกว่าและมีประสิทธิภาพมากกว่าดาวเทียม
เครือข่ายสำนักข่าว CNN รายงานในปี 2015 ว่า
99% ของการสื่อสารระหว่างประเทศ
รับส่งข้อมูลกันด้วยระบบเคเบิลใต้ทะเล
แทนการใช้ดาวเทียม
ดาวเทียมยังมีประสิทธิภาพความเร็วด้อยกว่า
เพราะจะต้องใช้เวลานานกว่าในการรับส่งข้อมูล
ระหว่างสถานีภาคพื้นดินกับดาวเทียม
และในกรณีที่มีการติดต่อสื่อสารผ่านดาวเทียม
ดาวเทียมยังมีข้อจำกัดในปริมาณ
ด้านความจุในการถ่ายโอนข้อมูลจำนวนมาก
เมื่อเปรียบเทียบกับความเร็ว
ในการถ่ายโอนข้อมูลทั้ง 2 ระบบ
ระบบเคเบิลใต้ทะเลที่มีความสามารถมากกว่า
นักวิจัยได้พัฒนาสายเคเบิล
เส้นใยนำแสง Optical fibre
ที่สามารถส่งข้อมูลที่ 99.7 % ของความเร็วแสง
@
https://goo.gl/fqvQQp
Optical fibre
เส้นใยนำแสง
หมายถึงวัสดุที่ทำจากใยแสง หรือพลาสติก
ที่สามารถสะท้อนแสง แสงผ่านทะลุได้
ใช้ในการถ่ายโอนข้อมูล/สื่อสารข้อมูลแบบหนึ่ง
สามารถถ่ายเทข้อมูล ได้ทีละมาก ๆ
และทำได้รวดเร็วมาก เช่น
ส่งเอกสาร 2,700 หน้าได้ภายในเวลา 6 วินาที
ในปัจจุบัน เชื่อกันว่า ราคาโดยรวมแล้ว
ยังถูกกว่าการถ่ายโอนข้อมูลด้วยวิธีอื่น
@
https://goo.gl/VHOYAf
.
.
เรียบเรียง/ที่มา
https://goo.gl/OuY2pd
https://goo.gl/x2Gzxw
https://goo.gl/OZkk6B
.
.
@ https://goo.gl/49I6uf
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
6 เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับสายเคเบิลใต้ทะเล
ในปี 2006 ประสิทธิภาพการให้บริการข้อมูลสายเคเบิลใต้ทะเลยังแค่ระดับ Gigabytes
ในการให้บริการ Internet traffic
กับ Voice calls @ : PRIMETRICA
.
เส้นทางเคเบิลใต้ทะเล
@ https://goo.gl/ExFpm7
.
วันพฤหัสบดีที่ 26 พฤษภาคม 2016 ที่ผ่านมา
Microsoft กับ Facebook ได้ร่วมกันประกาศว่า
ได้ร่วมมือกันสร้างเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
สายเคเบิลใต้ทะเลความเร็วสูง
High-speed Internet sub-sea cable
ที่เชื่อมโยงระหว่างสหรัฐอเมริกา
และตอนใต้ทวีปยุโรปข้ามมหาสมุทร Atlantic
เพื่อให้รองรับกับความต้องการ Internet ความเร็วสูงและบริการที่ไว้ใจได้
Microsoft's cloud ได้ให้บริการ
Skype Xbox Live Office 365
และ Search-engine Bing และ Azure
ให้บริการรูปแบบ Cloud computing platform
จะได้รับประโยชน์จากโครงข่ายการก่อสร้างเคเบิลใต้ทะเลในครั้งนี้อย่างมาก
Marea คือชื่อเครือข่ายเคเบิลใต้ทะเล
มีระยะทาง 6,600 กิโลเมตร
ประมาณว่ามีประสิทธิภาพการรับส่งข้อมูล
160 terabytes ต่อวินาที
คาดว่าโครงข่ายจะเสร็จพร้อมใช้
งานราวเดือนสิงหาคม 2017
และบริการได้เต็มที่ราวเดือน ตุลาคม 2017
(ไม่มีข้อมูลราคาต้นทุนค่าใช้จ่าย/ค่าก่อสร้าง)
Marea ภาษาสเปญ คือ กระแสน้ำ
สายเคเบิลใต้ทะเลนี้เชื่อมโยงระหว่าง
ตอนเหนือของรัฐ Virginia กับ Bilbao สเปญ
ผู้บริหารโครงการคือ Telxius
กลุ่มบริษัทในเครือ Telefonica
ผู้ให้บริการโครงสร้างพื้นฐาน
ด้านโทรคมนาคมของสเปญ
เมื่องานก่อสร้างแล้วเสร็จตามโครงการ
สายเคเบิลใต้ทะเล Marea
จะเป็นหนึ่งในเครือข่ายที่เชื่อมโยงโลก
เข้าด้วยกันโดยสเปญจะเป็นชุมทางเครือข่าย
ที่เชื่อมไปยัง อัฟริกา เอเชีย ตะวันออกกลาง
และพื้นที่ยุโรปบางส่วน
" เพราะโลกกำลังเดินหน้าไปกับ
พื้นฐานของ Cloud computing
Microsoft จึงได้ลงทุนโครงสร้างพื้นฐาน
Cloud infrastructure เพื่อตอบรับกับ
กระแสความต้องการที่มีมากขึ้นในอนาคต
หลายธุรกิจได้เรียกร้องให้บริษัทให้บริการมากกว่า 200 Cloud services "
Christian Belady ผู้จัดการ
Microsoft data centre strategy ให้สัมภาษณ์
" เรากำลังพัฒนาเทคโนโลยีใหม่
และระบบใหม่อย่างสม่ำเสมอ
เพื่อให้บริการเชื่อมโยงที่ดีที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้
เราต้องการที่จะทำได้มากกว่าใครในโครงการนี้
ทำให้เราไปได้เร็วมากด้วยความร่วมมือกัน
อย่างใกล้ชิดมากกว่าเจ้าอื่น "
Najam Ahmad Facebook vice-president
of network engineering
Microsoft ซื้อหุ้นใน Facebook เมื่อ 9 ปีก่อน
ด้วยการจ่ายเงินค่าหุ้น 240 ล้านเหรียญสหรัฐ
และถือหุ้นเพียงร้อยละ 1.6 ใน Facebook
@ https://goo.gl/amOeCj
.
การวางสายเคเบิลใต้น้ำ
เริ่มต้นครั้งแรกในปี 1854
มีการใช้งานเพื่อส่งโทรพิมพ์ระหว่าง Newfoundland กับ Ireland
@ https://goo.gl/x2Gzxw
.
เรื่องราวที่น่าสนใจ
เกี่ยวกับเครือข่ายสายเคเบิลใต้ทะเล
.
1. สิงคโปร์ หนึ่งในชุมทางเคเบิลใต้ทะเล
นอกเหนือจากชุมทางการจราจรทางอากาศ
ชุมทางทางทะเล และชุมทางข้อมูลข่าวสาร
แม้ว่าก่อนหน้านี้ในปี 1900 สิงคโปร์
ยังเป็นจุดหนึ่งที่มีการวางสายเคเบิลใต้ทะเล
เพื่อใช้ติดต่อทางโทรพิมพ์ที่เชื่อมโยง
ระหว่างอังกฤษกับทวีปเอเซีย
จนทุกวันนี้ ระบบเครือข่ายเคเบิลใต้ทะเล
ที่ทันสมัยมากก็ยังตั้งอยู่ในสิงคโปร์
มีการเชื่อมโยงหลายประเทศ
และทุก ๆ ทวีปเข้าด้วยกัน
ยกเว้นทวีป Antarctica (มีแต่นักวิจัย)
ทำให้สิงคโปร์เป็น 1 ในชุมทาง
เชื่อมโยงสายเคเบิลใต้ทะเล
ที่มีทั้งหมดรวม 16 เส้นทาง
ในการให้บริการโทรคมนาคม
ระหว่างประเทศ/เครือข่ายต่าง ๆ
มาตั้งแต่ตุลาคม 2015
มีความสามารถในถ่ายโอนข้อมูล
มากกว่า 114 terabytes ต่อวินาที
.
.
2. อายุการใช้งานเคเบิลใต้ทะเล
สูงสุดราว 25 ปี
แผนที่สายเคเบิลใต้ทะเล TeleGeography
ที่ทำการปรับปรุงล่าสุดในปี 2016
ได้ระบุว่าสายเคเบิลใต้ทะเล
ที่ยังเปิดให้บริการอยู่ 293 เส้นทาง
และระบบที่กำลังก่อสร้าง 28 เส้นทาง
คาดว่าจะให้บริการได้ในช่วงปลายปีนี้
เมื่อสายเคเบิลใต้น้ำมีอายุการใช้งานราว 25 ปี
แล้วจะต้องมีการวางสายทดแทน/ซ่อมแซม
เรือซ่อมแซมแบบพิเศษจะถูกส่งไป
ทำการซ่อมแซมสายเคเบิ้ลเหล่านี้
ถ้าสายเคเบิลใต้ทะเลที่เสียหายที่ระดับความลึกใต้ผิวน้ำน้อยกว่า 6,500 ฟุต (1.981 กิโลเมตร)
หุ่นยนต์จะถูกใช้ลงไปดึงสายเคเบิลขึ้นมา
ยังพื้นผิวน้ำเพื่อซ่อมแซม
แต่ถ้าสายเคเบิลอยู่ลึกเกินไปกว่านั้น
เรือจะใช้ตะขอเกี่ยวทำหน้าที่แทน
ด้วยการลากสายเคเบิลใต้ทะเลขึ้นมาซ่อมแซม
.
@ https://goo.gl/49I6uf
.
.
3. การติดตั้งสายเคเบิลใต้ทะเล
มีราคาแพงและการทำงานยากลำบากมาก
ปัญหาในการติดตั้งโทรทัศน์/คอมพิวเตอร์
กลายเป็นเรื่องเล็กน้อยไปเลย
ถ้าเปรียบเทียบกับการติดตั้ง
เครือข่ายสายเคเบิลใต้ทะเล
เพราะขั้นตอนและวิธีการทำงาน
ในการวางสายเคเบิลใต้ทะเล
เป็นเรื่องที่น่าเบื่อต้องใช้เวลานานมาก
และต้องใช้กำลังคนอย่างเพียงพอ
เรือที่บรรทุกสายเคเบิลใต้น้ำ
เพื่อทำการติดตั้งวางสายเคเบิล
ลงบนพื้นมหาสมุทร ต้องมีการตรวจสอบ
และมั้นใจว่าสายเคเบิลเหล่านี้
จะถูกกลบฝังอย่างถูกต้อง
ในขณะเดียวกัน
ต้องพยายามหลีกเลี่ยงแนวปะการัง
การรบกวนชีวิตสัตว์น้ำในมหาสมุทร
รวมทั้งจากการรบกวนจากมนุษย์ที่ไม่หวังดี
/ภัยพิบัติที่มนุษย์ก่อให้เกิดขึ้นด้วยประการใด ๆ
เรือจะสามารถวางสายเคเบิ้ลใต้ทะเล
ได้ราว 100-200 กิโลเมตรต่อวัน
ถ้าไม่มีปัญหาและอุปสรรคที่เป็นข้อจำกัด
ในการทำงาน แบบลมแรง คลื่นแรง
.
@ https://goo.gl/49I6uf
.
4. ขนาดของสายเคเบิ้ลใต้ทะเล
แต่ละพื้นที่จะแตกต่างกัน
ระบบเคเบิลใต้ทะเลที่มีความเสี่ยงต่อ
ภัยคุกคาม - เช่น ปลาฉลาม และเรือ
ในบริเวณน้ำตื้นมีขนาดประมาณกระป๋อง Coke
แต่ถ้าในระดับที่ความลึกมาก
จะเรียวบางกว่าราว 17 มิลลิเมตร
สายเหล่านี้มักจะมีฉนวนหุ้มป้องกันหลายชั้น
ภายในมีสายหลักคือ เส้นใยนำแสง
และสายโลหะ บางทีพบสายเคเบิลใต้น้ำ
ที่ระดับความลึก 8,000 เมตร
ซึ่งเทียบเท่ากับความสูงของ Everest (หิมาลัย)
.
@ https://goo.gl/49I6uf
.
.
5. ความเสียหายมักเกิดจาก
ศัตรูภายนอกและสัตว์ใต้ท้องทะเล
ปลาฉลาม มักจะเพลิดเพลินไปกับ
การกัดสายเคเบิลใต้ทะเลเหล่านี้
ยังไม่มีความชัดเจนและเหตุผลที่ปลาฉลามมีพฤติกรรมแปลกประหลาดแบบนี้
" สายเคเบิลใยแก้วนำแสงรุ่นใหม่
ที่มีรสชาติลึกลับ ที่ปลาฉลามไม่เห็นชอบด้วย
กับการวางไปตามท้องทะเล "
New York Times รายงานในปี 1987
ทั้งนี้ปลาฉลามยังเคยโจมตี
สายเคเบิลใต้ทะเลของ Google
จนทำให้ต้องป้องกันสายเคเบิลใต้ทะเล
ด้วยการเสริม Kevlar
ที่มีความเหนียวและทนถึกมาก
ใช้ทำเกราะกันกระสุน/กันของมีคม
ทั้งยังมีภัยคุกคามจากภัยพิบัติทางธรรมชาติ
หรือสมอเรือที่โยนลงไปโดน/ดึงเกี่ยวขึ้นมา
หรือเรือลากอวนที่ลากดึงถูกสายเคเบิลใต้ทะเล
.
ในช่วงสงครามเย็น (1945 - 1991)
สภาความมั่นคงแห่งชาติสหรัฐอเมริกา
ได้ลงมือปฏิบัติการลับภายใต้ชื่อ Ivy Bells
โดยใช้เรือดำน้ำและอุปกรณ์ดักฟังใต้น้ำ
เกาะติดกับสายเคเบิลใต้ทะเล
เพื่อรวบรวมบันทึกและดักฟัง
การส่งสัญญาณจากสายเคเบิลใต้ทะเล
ของฐานทัพเรือสหภาพโซเวียตรัสเซีย
ที่มีการติดต่อกันผ่านสายเคเบิลใต้ทะเล
.
.
ในปี 2013 มีนักประดาน้ำสายลับ 3 คน
ถูกทางการอียิปต์จับได้ที่ท่าเรือ Alexandia
ขณะที่กำลังพยายามที่จะตัดสายเคเบิลใต้ทะเล
เป้าหมายของผู้ก่อวินาศกรรม คือ
การทำลายสายเคเบิล SeaWeMe-4
South-east Asia-Middle East
-Western Europe 4 เส้นทาง
1 ในสายเคเบิลใต้ทะเล 3 เส้น
ที่เชื่อมโยงระหว่างอียิปต์กับยุโรป
.
Kevlar ใช้หุ้มห่อเพื่อป้องกันปลาฉลาม
กัดสายเคเบิลใต้ทะเล
.
6. เคเบิลใต้ทะลจะถูกกว่าและมีประสิทธิภาพมากกว่าดาวเทียม
เครือข่ายสำนักข่าว CNN รายงานในปี 2015 ว่า
99% ของการสื่อสารระหว่างประเทศ
รับส่งข้อมูลกันด้วยระบบเคเบิลใต้ทะเล
แทนการใช้ดาวเทียม
ดาวเทียมยังมีประสิทธิภาพความเร็วด้อยกว่า
เพราะจะต้องใช้เวลานานกว่าในการรับส่งข้อมูล
ระหว่างสถานีภาคพื้นดินกับดาวเทียม
และในกรณีที่มีการติดต่อสื่อสารผ่านดาวเทียม
ดาวเทียมยังมีข้อจำกัดในปริมาณ
ด้านความจุในการถ่ายโอนข้อมูลจำนวนมาก
เมื่อเปรียบเทียบกับความเร็ว
ในการถ่ายโอนข้อมูลทั้ง 2 ระบบ
ระบบเคเบิลใต้ทะเลที่มีความสามารถมากกว่า
นักวิจัยได้พัฒนาสายเคเบิล
เส้นใยนำแสง Optical fibre
ที่สามารถส่งข้อมูลที่ 99.7 % ของความเร็วแสง
@ https://goo.gl/fqvQQp
Optical fibre เส้นใยนำแสง
หมายถึงวัสดุที่ทำจากใยแสง หรือพลาสติก
ที่สามารถสะท้อนแสง แสงผ่านทะลุได้
ใช้ในการถ่ายโอนข้อมูล/สื่อสารข้อมูลแบบหนึ่ง
สามารถถ่ายเทข้อมูล ได้ทีละมาก ๆ
และทำได้รวดเร็วมาก เช่น
ส่งเอกสาร 2,700 หน้าได้ภายในเวลา 6 วินาที
ในปัจจุบัน เชื่อกันว่า ราคาโดยรวมแล้ว
ยังถูกกว่าการถ่ายโอนข้อมูลด้วยวิธีอื่น
@ https://goo.gl/VHOYAf
.
@ https://goo.gl/49I6uf
.
เรียบเรียง/ที่มา
https://goo.gl/OuY2pd
https://goo.gl/x2Gzxw
https://goo.gl/OZkk6B
.
.
@ https://goo.gl/49I6uf
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.