พระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง พ.ศ. ๒๕๓๕ ที่บัญญัติว่า
มาตรา ๑๗ ห้ามมิให้ผู้ใด
(๒) จอด หรือ ขับขี่รถยนต์ รถจักรยานยนต์ หรือล้อเลื่อน บนทางเท้า
เว้นแต่เป็นการจอดหรือขับขี่เพื่อเข้าไปในอาคารหรือมีประกาศของเจ้าพนักงานจราจรผ่อนผันให้จอดหรือขับขี่ได้
มาตรา ๔๘ บรรดาความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ให้เจ้าพนักงานท้องถิ่น
หรือผู้ซึ่งเจ้าพนักงานท้องถิ่นแต่งตั้ง และพนักงานสอบสวน
มีอำนาจเปรียบเทียบได้เมื่อผู้ต้องหาชําระ
ค่าปรับตามที่เปรียบเทียบภายในสิบห้าวันแล้ว
ให้ถือว่าคดีเลิกกันตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
ถ้าผู้ต้องหาไม่ยินยอมตามที่เปรียบเทียบ หรือเมื่อยินยอมแล้ว ไม่ชำระค่าปรับ
ภายในกําหนดเวลาดังกล่าว ให้ดำเนินคดีเพื่อฟ้องร้องต่อไป
ค่าปรับที่ได้จากการเปรียบเทียบตามวรรคหนึ่ง ให้แบ่งแก่ผู้แจ้งตามมาตรา ๕๑
กึ่งหนึ่ง และพนักงานเจาหน้าที่ เจ้าพนักงานจราจร หรือตํารวจที่ปฏิบัติหน้าที่ควบคุมการจราจร
ผู้จับกุมอีกกึ่งหนึ่ง
มาตรา ๕๑ ในกรณีที่มีผู้กระทําความผิดตามพระราชบัญญัตินี้
ประชาชนผู้พบเห็นอาจแจ้งความต่อพนักงานสอบสวน เจ้าพนักงานทองถิ่นหรือพนักงานเจ้าหน้าที่
เพื่อให้พนักงานสอบสวน เจ้าพนักงานท้องถิ่นหรือพนักงานเจาหน้าที่ดำเนินการตามอานาจหน้าที่โดยไม่
ชักช้าและให้ถือว่าประชาชนผู้พบเห็นการกระทําความผิดดังกล่าวเป็นผู้เสียหายตามประมวล
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
บทกําหนดโทษ
มาตรา ๕๖ ผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๑๐ วรรคหนึ่ง มาตรา ๑๒
มาตรา ๑๖ วรรคหนึ่ง มาตรา ๑๗ หรือมาตรา ๑๘ ต้องระวางโทษปรับไม่เกินห้าพันบาท
“มอไซค์” วิ่งบนทางเท้า "รถ" จอดบนทางเท้า คนแจ้งได้ส่วนแบ่งค่าปรับครึ่งหนึ่ง
มาตรา ๑๗ ห้ามมิให้ผู้ใด
(๒) จอด หรือ ขับขี่รถยนต์ รถจักรยานยนต์ หรือล้อเลื่อน บนทางเท้า
เว้นแต่เป็นการจอดหรือขับขี่เพื่อเข้าไปในอาคารหรือมีประกาศของเจ้าพนักงานจราจรผ่อนผันให้จอดหรือขับขี่ได้
มาตรา ๔๘ บรรดาความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ให้เจ้าพนักงานท้องถิ่น
หรือผู้ซึ่งเจ้าพนักงานท้องถิ่นแต่งตั้ง และพนักงานสอบสวน
มีอำนาจเปรียบเทียบได้เมื่อผู้ต้องหาชําระ
ค่าปรับตามที่เปรียบเทียบภายในสิบห้าวันแล้ว
ให้ถือว่าคดีเลิกกันตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
ถ้าผู้ต้องหาไม่ยินยอมตามที่เปรียบเทียบ หรือเมื่อยินยอมแล้ว ไม่ชำระค่าปรับ
ภายในกําหนดเวลาดังกล่าว ให้ดำเนินคดีเพื่อฟ้องร้องต่อไป
ค่าปรับที่ได้จากการเปรียบเทียบตามวรรคหนึ่ง ให้แบ่งแก่ผู้แจ้งตามมาตรา ๕๑
กึ่งหนึ่ง และพนักงานเจาหน้าที่ เจ้าพนักงานจราจร หรือตํารวจที่ปฏิบัติหน้าที่ควบคุมการจราจร
ผู้จับกุมอีกกึ่งหนึ่ง
มาตรา ๕๑ ในกรณีที่มีผู้กระทําความผิดตามพระราชบัญญัตินี้
ประชาชนผู้พบเห็นอาจแจ้งความต่อพนักงานสอบสวน เจ้าพนักงานทองถิ่นหรือพนักงานเจ้าหน้าที่
เพื่อให้พนักงานสอบสวน เจ้าพนักงานท้องถิ่นหรือพนักงานเจาหน้าที่ดำเนินการตามอานาจหน้าที่โดยไม่
ชักช้าและให้ถือว่าประชาชนผู้พบเห็นการกระทําความผิดดังกล่าวเป็นผู้เสียหายตามประมวล
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
บทกําหนดโทษ
มาตรา ๕๖ ผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๑๐ วรรคหนึ่ง มาตรา ๑๒
มาตรา ๑๖ วรรคหนึ่ง มาตรา ๑๗ หรือมาตรา ๑๘ ต้องระวางโทษปรับไม่เกินห้าพันบาท