ขออนุญาตสอบถาม
.
กรณี เจ้าพนักงานจารจรใช้อำนาจเกินกว่าที่กฎหมายกำหนด ในการเขียนใบสั่งให้ไปชำระค่าปรับ ข้อหา ห้ามมิให้ผู้ขับขี่จอดรถในเขตที่มีเครื่องหมายจราจรห้ามจอดรถ โดยให้ไปชำระค่าปรับ 700 บาท (เพิ่มเติม โดนล็อกล้อ)
.
(ผมจอดรถหน้า 7-11 ซอยรางน้ำ ใกล้ๆกับห้างเซ็นจูรี)
.
ข้อกฎหมาย
พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ. 2522
มาตรา 57 (5) ห้ามมิให้ผู้ขับขี่จอดรถในเขตที่มีเครื่องหมายจราจรห้ามจอดรถ
ประกอบมาตรา 148 ผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรา 57 ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 500 บาท
และประกอบกับ กฎกระทรวง ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2534) ออกตามความในพระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ. 2522
คำถาม
เจ้าพนักงานจารจรเขียนใบสั่งเกินกว่าที่กฎหมายกำหนด (กฎหมายกำหนดโทษปรับไม่เกิน 500 บาท)
***ประชาชนสามารถแจ้งข้อหา ฟ้องร้อง หรือดำเนินการกับเจ้าพนักงานจารจรได้หรือไม่ ดำเนินการอย่างไรได้บ้าง
.
(ถามเป็นความรู้ไว้ครับ)
.
***(กรณีดังกล่าว ผมได้ชำระค่าปรับไปเรียบร้อยแล้ว จำนวน 500 บาท)
เจ้าพนักงานจารจรใช้อำนาจเกินกว่าที่กฎหมายกำหนด
.
กรณี เจ้าพนักงานจารจรใช้อำนาจเกินกว่าที่กฎหมายกำหนด ในการเขียนใบสั่งให้ไปชำระค่าปรับ ข้อหา ห้ามมิให้ผู้ขับขี่จอดรถในเขตที่มีเครื่องหมายจราจรห้ามจอดรถ โดยให้ไปชำระค่าปรับ 700 บาท (เพิ่มเติม โดนล็อกล้อ)
.
(ผมจอดรถหน้า 7-11 ซอยรางน้ำ ใกล้ๆกับห้างเซ็นจูรี)
.
ข้อกฎหมาย
พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ. 2522
มาตรา 57 (5) ห้ามมิให้ผู้ขับขี่จอดรถในเขตที่มีเครื่องหมายจราจรห้ามจอดรถ
ประกอบมาตรา 148 ผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรา 57 ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 500 บาท
และประกอบกับ กฎกระทรวง ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2534) ออกตามความในพระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ. 2522
คำถาม
เจ้าพนักงานจารจรเขียนใบสั่งเกินกว่าที่กฎหมายกำหนด (กฎหมายกำหนดโทษปรับไม่เกิน 500 บาท)
***ประชาชนสามารถแจ้งข้อหา ฟ้องร้อง หรือดำเนินการกับเจ้าพนักงานจารจรได้หรือไม่ ดำเนินการอย่างไรได้บ้าง
.
(ถามเป็นความรู้ไว้ครับ)
.
***(กรณีดังกล่าว ผมได้ชำระค่าปรับไปเรียบร้อยแล้ว จำนวน 500 บาท)