นักประวัติศาสตร์กับนักสะสมปืนมักชื่นชอบเรื่องราวและอาวุธ
ที่มีการใช้ในการรบกันอย่างกว้างขวางในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1
แม้ว่าจะมีพัฒนาการด้านเทคโลยีหลายด้านแล้วก็ตามหลังจากนั้นเป็นต้นมา
เช่น การสื่อสารทางวิทยุ รถถัง เครื่องบิน เรือดำน้ำ ฯลฯ
แต่อาวุธปืนที่ยังคงไว้ใจได้ถึงรูปร่าง/กลไกประสิทธิภาพในการใช้งาน
แม้ว่าจะมีการพัฒนาดัดแปลงในภายหลัง
แต่ยังคงเอกลักษณ์เดิมไว้มากที่สุด
ยังคงมีประจำกองทัพหลายแห่งจนทุกวันนี้
เพราะความโดดเด่นในเรื่องด้านการยิงและบรรจุกระสุนได้รวดเร็วกว่า
1. M1911
นี่จัดว่าเป็นลำดับแรกในรายการที่มีอายุการใช้งานยืนยาวกว่า
รถยนต์ที่เคยผลิตกันในปี 1911 ที่แทบจะไม่เห็นวิ่งกันในท้องถนนเลยในทุกวันนี้
ปืนกระบอกนี่ไม่มีใครปฏิเสธได้เลยว่าต้องยกย่องให้เกียรติกับ John Browning
สำหรับคนรักและชื่นชอบอาวุธปืนที่แทบไม่มีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงรูปแบบ/กลไกเลยมากว่า 100 ปีแล้ว
แต่ยังคงความอมตะและมีการใช้งานกันอยู่อย่างแพร่หลายในสหรัฐอเมริกา
ในกองทัพบก หน่วยนาวิกโยธิน หน่วยปฏิบัติการพิเศษ และอีกหลายหน่วยงาน
ทั้งยังคงใช้งานในกองทัพอากาศเกาหลีใต้ และอีกหลายประเทศ
An US Marine fires the M1911 during an exercise in 2013
2. Lee-Enfield
ปืนยาวไรเฟิลลูกเลื่อนพร้อมแหนบกระสุนเริ่มมีการใช้งานในปี 1895
บรรจุกระสุนได้เต็มที่พร้อมใช้งานจำนวน 10 นัด (พร้อมแหนบ)
Lee-Enfield มีการใช้งานในพื้นที่สู้รบหลายแห่งมากในศตวรรษที่ 20
ทุกวันนี้ตำรวจในปากีสถาน บังคลาเทศ ยังคงใช้เป็นอาวุธประจำกาย
นอกจากนี้หลายประเทศในเครือจักรภพอังกฤษก็ยังคงใช้เป็นอาวุธประจำหน่วย
แม้กระทั่งเมื่อเร็ว ๆ นี้ หน่วยทหารจู่โจมของแคนนาดายังใช้เป็นอาวุธเริ่มต้นฝึกหัดการรบ
A Canadian rifleman with a Lee-Enfield during the Battle of Ortona in 1943
3. Mosin-Nagant
Mosin-Nagant กับ Lee-Enfield น่าจะเป็นปืนยาวไรเฟิลลูกเลื่อน
ที่เก่าแก่มากที่สุดที่ใช้งานกันจนมาถึงทุกวันนี้
ปืนยาวไรเฟิลรุ่นนี้มีการผลิตครั้งแรกในปี 1891
บรรจุกระสุนได้เต็มที่พร้อมใช้งานจำนวน 5 นัด (พร้อมแหนบ)
ความทนทาน/ง่ายและเชื่อถือได้กับประสิทธิภาพของมัน
ทำให้มีการผลิตขึ้นมาใช้งานกันมากที่สุดเลยทีเดียวในประวัติศาสตร์
คาดว่ามีปืนรุ่นนี้มีการผลิตขึ้นมาใช่งานมากกว่า 37 ล้านกระบอกทั่วโลก
ปืน Mosin-Nagant กับรุ่นต่อ ๆ มามีการใช้งานกันอย่างแพร่หลาย
ทั้งมือใหม่ที่หัดยิงปืนยาวไรเฟืลกับนักสะสมปืนที่มีประวัติศาสตร์มายาวนาน
ทุกวันนี้ยังมีการใช้งานใน Bulgaria’s 101st Alpine Battalion
หน่วยงานย่อยใน รัสเซีย และในพิธีสวนสนามของกองทัพบราซิลกับโปแลนด์
A modern sniper rifle based on the Mosin-Nagant, as displayed by Finnish Defence Forces in 2013
4. Nagant M1895
ปืนพกลูกโม่พร้อมกระสุน 7 นัดในกระบอกออกแบบและผลิตโดย Leon Nagant ในปี 1895
หลังจากที่ผลิตปืนยาวไรเฟิลลูกเลื่อน Mosin-Nagant เพียงไม่กี่ปี
ปืนพกรุ่นนี้เป็นที่ยอมรับกันในประสิทธิภาพกับประสิทธิผลในการใช้งาน
Nagant M1895 เป็นปืนพกประจำกายของทหารและตำรวจสหภาพโซเวียตรัสเซีย
และทุกวันนี้ยังมีการใช้งานในกองทัพซีเรีย และตำรวจรถไฟของยูเครน
5. M1903 Springfield
M1 Garand rifle. From the collections of the Swedish Army Museum, Stockholm, Sweden.
ปืนเล็กยาวบรรจุเองแบบ 88 (ปลย.88 หรือ ปลยบ.88)
ปืนยาวไรเฟิลรุ่นมาตรฐานของกองทัพบกสหรัฐ
ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1 จนถึงสงครามโลกครั้งที่ 2
บรรจุกระสุนพร้อมยิงในแหนบกระสุนได้ 5 นัด
เป็นต้นตระกูลของ M1 Garand แบบกึ่งอัตโนมัติ
ที่บรรจุได้ 8 นัดที่ผลิตภายหลังในปี 1937
แต่ยังผลิตไม่ทันใช้ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2
M1 Garand แบบนี้ยังมีการใช้งานกันมาอย่างต่อเนื่องถึงปัจจุบัน
M1903 Springfield ยังคงเอกลักษณ์กลไกและรูปแบบตั้งแต่ปี 1903
เป็นปืนยาวไรเฟิลที่นิยมกันมากในพวกพรานล่าสัตว์
เพราะประสิทธิภาพของกระสุนขนาด .30-06 Springfield
บรรจุกระสุนได้เต็มที่พร้อมใช้งานจำนวน 5 นัด (พร้อมแหนบ)
ผู้ใช้งานที่รู้จักกันมากที่สุดคือ Ernest Hemingway
ผู้ใช้ปืน M1903 รุ่นนี้ตอนเดินทางไปล่าสัตว์ใน Africa
ทุกวันนี้ยังคงมีการใช้งานกันในกองทัพสหรัฐอเมริกาและหน่วยงานหลายแห่ง
The US Army Drill Team ให้รางวัลปืนยาวไรเฟิล Springfield
ในเรื่องความสมดุลและสีของด้ามปืนที่สะดุดตาและโดดเด่น
US Marines equipped with the M1903 Springfield in Italy during WWI
เรียบเรียง/ที่มา
http://bit.ly/1iMQyO7
ภาพเมื่อหนึ่งร้อยปีก่อน คนงานกำลังทำงานอย่างเร่งรีบ
ใน Winchester Repeating Arms Company ที่ New Haven รัฐ Connecticut
หลังจากที่ปืนยาวไรเฟิลรุ่นพิชิตตะวันตก
Gun that Won the West Winchester Model 1873
มีภาระกิจหลักคือใช้ในการรบช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1
สภาพภายในโรงงานที่แขวนภาพสาวงามและปฏิทิน
กำลังทดสอบและตรวจสอบสภาพปืนแต่ละกระบอก
เพราะมีความต้องการอย่างมากจนผลิตแทบไม่ทันเลยทีเดียว
เฉพาะในปี 1915 กองทัพอังกฤษสั่งซื้อถึง 250,000 กระบอก
และกองทัพรัสเซียก็สั่งซื้อถึง 300,000 กระบอกเข่นกัน
หลังจากเดือนเมษายน 1917
กองทัพสหรัฐอเมริกาได้เข้าร่วมรบในภาคพื้นยุโรป
ยิ่งทำให้ปืนยาวไรเฟิลรุ่น Model 1917 Enfield
M1917 Enfield rifle from the collections of Armémuseum, Stockholm, Sweden
มีการใช้งานกันอย่างแพร่หลายมาก
คาดว่าคนงานในโรงงานแห่งนี้บางคน
อาจจะได้ทดสอบปืนยาวไรเฟิลในสนามรบจริงก็เป็นไปได้
เรียบเรียง/ที่มา
http://on.natgeo.com/2af0C2C
แหนบกระสุนปืนเล็กยาวบรรจุเองแบบ 88
จากซ้ายไปขวา 9.3×62mm Mauser, .30-06 Springfield, 7.92×57mm Mauser, 6.5×55mm และ .308 Winchester
จากซ้ายไปขวา .50 BMG, 300 Win Mag, .308 Winchester, 7.62×39mm, 5.56×45mm NATO, .22 Long Rifle
แรงปะทะ/ความเร็วของกระสุนแต่ละประเภท
M 1
Lee-Enfield
ปืน 5 แบบที่ใช้กันมาตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่ 1
นักประวัติศาสตร์กับนักสะสมปืนมักชื่นชอบเรื่องราวและอาวุธ
ที่มีการใช้ในการรบกันอย่างกว้างขวางในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1
แม้ว่าจะมีพัฒนาการด้านเทคโลยีหลายด้านแล้วก็ตามหลังจากนั้นเป็นต้นมา
เช่น การสื่อสารทางวิทยุ รถถัง เครื่องบิน เรือดำน้ำ ฯลฯ
แต่อาวุธปืนที่ยังคงไว้ใจได้ถึงรูปร่าง/กลไกประสิทธิภาพในการใช้งาน
แม้ว่าจะมีการพัฒนาดัดแปลงในภายหลัง
แต่ยังคงเอกลักษณ์เดิมไว้มากที่สุด
ยังคงมีประจำกองทัพหลายแห่งจนทุกวันนี้
เพราะความโดดเด่นในเรื่องด้านการยิงและบรรจุกระสุนได้รวดเร็วกว่า
1. M1911
นี่จัดว่าเป็นลำดับแรกในรายการที่มีอายุการใช้งานยืนยาวกว่า
รถยนต์ที่เคยผลิตกันในปี 1911 ที่แทบจะไม่เห็นวิ่งกันในท้องถนนเลยในทุกวันนี้
ปืนกระบอกนี่ไม่มีใครปฏิเสธได้เลยว่าต้องยกย่องให้เกียรติกับ John Browning
สำหรับคนรักและชื่นชอบอาวุธปืนที่แทบไม่มีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงรูปแบบ/กลไกเลยมากว่า 100 ปีแล้ว
แต่ยังคงความอมตะและมีการใช้งานกันอยู่อย่างแพร่หลายในสหรัฐอเมริกา
ในกองทัพบก หน่วยนาวิกโยธิน หน่วยปฏิบัติการพิเศษ และอีกหลายหน่วยงาน
ทั้งยังคงใช้งานในกองทัพอากาศเกาหลีใต้ และอีกหลายประเทศ
An US Marine fires the M1911 during an exercise in 2013
2. Lee-Enfield
ปืนยาวไรเฟิลลูกเลื่อนพร้อมแหนบกระสุนเริ่มมีการใช้งานในปี 1895
บรรจุกระสุนได้เต็มที่พร้อมใช้งานจำนวน 10 นัด (พร้อมแหนบ)
Lee-Enfield มีการใช้งานในพื้นที่สู้รบหลายแห่งมากในศตวรรษที่ 20
ทุกวันนี้ตำรวจในปากีสถาน บังคลาเทศ ยังคงใช้เป็นอาวุธประจำกาย
นอกจากนี้หลายประเทศในเครือจักรภพอังกฤษก็ยังคงใช้เป็นอาวุธประจำหน่วย
แม้กระทั่งเมื่อเร็ว ๆ นี้ หน่วยทหารจู่โจมของแคนนาดายังใช้เป็นอาวุธเริ่มต้นฝึกหัดการรบ
A Canadian rifleman with a Lee-Enfield during the Battle of Ortona in 1943
3. Mosin-Nagant
Mosin-Nagant กับ Lee-Enfield น่าจะเป็นปืนยาวไรเฟิลลูกเลื่อน
ที่เก่าแก่มากที่สุดที่ใช้งานกันจนมาถึงทุกวันนี้
ปืนยาวไรเฟิลรุ่นนี้มีการผลิตครั้งแรกในปี 1891
บรรจุกระสุนได้เต็มที่พร้อมใช้งานจำนวน 5 นัด (พร้อมแหนบ)
ความทนทาน/ง่ายและเชื่อถือได้กับประสิทธิภาพของมัน
ทำให้มีการผลิตขึ้นมาใช้งานกันมากที่สุดเลยทีเดียวในประวัติศาสตร์
คาดว่ามีปืนรุ่นนี้มีการผลิตขึ้นมาใช่งานมากกว่า 37 ล้านกระบอกทั่วโลก
ปืน Mosin-Nagant กับรุ่นต่อ ๆ มามีการใช้งานกันอย่างแพร่หลาย
ทั้งมือใหม่ที่หัดยิงปืนยาวไรเฟืลกับนักสะสมปืนที่มีประวัติศาสตร์มายาวนาน
ทุกวันนี้ยังมีการใช้งานใน Bulgaria’s 101st Alpine Battalion
หน่วยงานย่อยใน รัสเซีย และในพิธีสวนสนามของกองทัพบราซิลกับโปแลนด์
A modern sniper rifle based on the Mosin-Nagant, as displayed by Finnish Defence Forces in 2013
4. Nagant M1895
ปืนพกลูกโม่พร้อมกระสุน 7 นัดในกระบอกออกแบบและผลิตโดย Leon Nagant ในปี 1895
หลังจากที่ผลิตปืนยาวไรเฟิลลูกเลื่อน Mosin-Nagant เพียงไม่กี่ปี
ปืนพกรุ่นนี้เป็นที่ยอมรับกันในประสิทธิภาพกับประสิทธิผลในการใช้งาน
Nagant M1895 เป็นปืนพกประจำกายของทหารและตำรวจสหภาพโซเวียตรัสเซีย
และทุกวันนี้ยังมีการใช้งานในกองทัพซีเรีย และตำรวจรถไฟของยูเครน
5. M1903 Springfield
M1 Garand rifle. From the collections of the Swedish Army Museum, Stockholm, Sweden.
ปืนเล็กยาวบรรจุเองแบบ 88 (ปลย.88 หรือ ปลยบ.88)
ปืนยาวไรเฟิลรุ่นมาตรฐานของกองทัพบกสหรัฐ
ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1 จนถึงสงครามโลกครั้งที่ 2
บรรจุกระสุนพร้อมยิงในแหนบกระสุนได้ 5 นัด
เป็นต้นตระกูลของ M1 Garand แบบกึ่งอัตโนมัติ
ที่บรรจุได้ 8 นัดที่ผลิตภายหลังในปี 1937
แต่ยังผลิตไม่ทันใช้ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2
M1 Garand แบบนี้ยังมีการใช้งานกันมาอย่างต่อเนื่องถึงปัจจุบัน
M1903 Springfield ยังคงเอกลักษณ์กลไกและรูปแบบตั้งแต่ปี 1903
เป็นปืนยาวไรเฟิลที่นิยมกันมากในพวกพรานล่าสัตว์
เพราะประสิทธิภาพของกระสุนขนาด .30-06 Springfield
บรรจุกระสุนได้เต็มที่พร้อมใช้งานจำนวน 5 นัด (พร้อมแหนบ)
ผู้ใช้งานที่รู้จักกันมากที่สุดคือ Ernest Hemingway
ผู้ใช้ปืน M1903 รุ่นนี้ตอนเดินทางไปล่าสัตว์ใน Africa
ทุกวันนี้ยังคงมีการใช้งานกันในกองทัพสหรัฐอเมริกาและหน่วยงานหลายแห่ง
The US Army Drill Team ให้รางวัลปืนยาวไรเฟิล Springfield
ในเรื่องความสมดุลและสีของด้ามปืนที่สะดุดตาและโดดเด่น
US Marines equipped with the M1903 Springfield in Italy during WWI
เรียบเรียง/ที่มา
http://bit.ly/1iMQyO7
ภาพเมื่อหนึ่งร้อยปีก่อน คนงานกำลังทำงานอย่างเร่งรีบ
ใน Winchester Repeating Arms Company ที่ New Haven รัฐ Connecticut
หลังจากที่ปืนยาวไรเฟิลรุ่นพิชิตตะวันตก
Gun that Won the West Winchester Model 1873
มีภาระกิจหลักคือใช้ในการรบช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1
สภาพภายในโรงงานที่แขวนภาพสาวงามและปฏิทิน
กำลังทดสอบและตรวจสอบสภาพปืนแต่ละกระบอก
เพราะมีความต้องการอย่างมากจนผลิตแทบไม่ทันเลยทีเดียว
เฉพาะในปี 1915 กองทัพอังกฤษสั่งซื้อถึง 250,000 กระบอก
และกองทัพรัสเซียก็สั่งซื้อถึง 300,000 กระบอกเข่นกัน
หลังจากเดือนเมษายน 1917
กองทัพสหรัฐอเมริกาได้เข้าร่วมรบในภาคพื้นยุโรป
ยิ่งทำให้ปืนยาวไรเฟิลรุ่น Model 1917 Enfield
M1917 Enfield rifle from the collections of Armémuseum, Stockholm, Sweden
มีการใช้งานกันอย่างแพร่หลายมาก
คาดว่าคนงานในโรงงานแห่งนี้บางคน
อาจจะได้ทดสอบปืนยาวไรเฟิลในสนามรบจริงก็เป็นไปได้
http://bit.ly/2atyryx
เรียบเรียง/ที่มา
http://on.natgeo.com/2af0C2C
แหนบกระสุนปืนเล็กยาวบรรจุเองแบบ 88
จากซ้ายไปขวา 9.3×62mm Mauser, .30-06 Springfield, 7.92×57mm Mauser, 6.5×55mm และ .308 Winchester
จากซ้ายไปขวา .50 BMG, 300 Win Mag, .308 Winchester, 7.62×39mm, 5.56×45mm NATO, .22 Long Rifle
แรงปะทะ/ความเร็วของกระสุนแต่ละประเภท
M 1
Lee-Enfield