คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 5
จขกท เขาตั้งกระทู้ถูกสถานะการณ์นะครับนั่น ทุกวันนี้ยุโรปรู้สึกว่าถูกคุมคามจากรัสเซียจริงๆ ตั้งแต่รัสเซียยึดไครเมียและเข้าไปแทรพแซงสนับสนุนกลุ่มแยกดินแดนอยู่ในยูเครนขณะนี้ ฉะนั้นประเทศยุโรปตะวันออก เช่น โปแลนด์ และประเทศบอลติกซึ่งมีเขตแดนติดกับรัสเซียทั้งหลายและมีชนส่วนน้อยเป็นชาวรัสเซีย ได้แก่ ประเทศ ลิทัวเนีย ลัทเวีย เอสโทเนีย และ ฟินแลนด์ ถึงได้กลัวหนักหนาว่ารัสเซียจะใช้ข้ออ้างที่ต้องการเข้าไปปกป้องชาวรัสเซีย และเข้าไปบุกยึดประเทศอย่างที่รัสเซียทำมาแล้วกับจอรเจียร์ และ ยูเครน
โดยเฉพาะอย่างยิ่งโปแลนด์และลิทัวเนียนั้นประธานธิบดีหญิงได้ออกมาเรียกร้องให้นาโต้ส่งกองกำลังไปประจำการอย่างถาวรทีเดียว ซึ่งขณะนี้กองกำลังนาโต้ได้กระทำตามคำเรียกร้องจริงๆ และมีการซ้อมรบในบริเวณนั้นเป็นระยะ
ข่าวนี้เป็นข่าวใหญ่ในยุโรปนะครับ ไม่น่าจะตกข่าวกัน
ย้อนกลับมาที่คำถาม จขกท ครับ ถ้าดูในอดีตไม่นานมานี้ก่อนเกิดปัญหายึดไครเมียและยูเครน ความสัมพันธ์ระหว่างรัสเซียกับยุโรปเป็นไปได้ด้วยดีอย่างมากซึ่งจะเห็นว่าเศรษฐกิจของรัสเซียกับยุโรปเจริญรุ่งเรืองต่างก็ได้ประโยชน์ซึ่งกันและกัน แม้แต่ความสัมพันธ์ระหว่างรัสเซียกับอเมริกาก็เป็นไปอย่างถ้อยทีถ้อยอาศัย นักลงทุนจากตะวันตกถึงได้ไปลงทุนอยู่ในรัสเซียเป็นจำนวนมากซึ่งที่มากที่สุดคือ การค้าส่วนใหญ่ที่สุดคือรัสเซียกับเยอรมนี
ในอดีตรัสเซียร่วมประชุมนาโต้เป็นปกติ และเป็นหนึ่งใน G8 ตอนนี้เหลือแค่ G7 ส่วนการประชุมนาโต้ล่าสุดรัสเซียเพิ่งได้รับเชิญกลับมาเข้าร่วมอีก
แม้แต่ในด้านการเมืองตะวันตกก็ไม่ได้เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับการเมืองภายในของรัสเซียอย่างมีนัยยะสำคัญ ทั้งๆ ที่รู้กันอยู่ว่าปูตินปกครองประเทศด้วยระบอบเผด็จการ
ฉะนั้นในอนาคตหากสามารถทำความตกลงแก้ปัญหาในยูเครนที่ยอมรับได้ทั้ง 2 ฝ่าย และความกลัวของประเทศเล็กๆ ทีกล่าวมาข้างต้นผ่อนคลายลง ความเป็นไปได้ที่ความสัมพันธ์ระหร่างรัสเซียกับยุโรปย่อมเป็นไปได้แน่นอน
ทั้งนี้ทั้งนั้นต้องรอดูนโยบายจากประธานาธีบดีคนใหม่ของสหรัฐด้วย
เพิ่มเติมล่าสุด ปูตินเพิ่งไปยืนฟินแลนด์เมื่อไม่กี่วันมานี่เองเพื่อยื่นไมตรีว่าไม่ต้องการเป็นศัตรู แต่จะทำให้เพื่อนบ้านเชื่อใจแค่ไหนต้องรอดูสถานะการณ์ต่อไป ที่แน่ๆ ด้วยความสัมพันธ์ระหว่างยุโรปหรือนาโต้กับรัสเซียช่วงนี้ยังตึงเครียดอยู่เหมือนเดิม
โดยเฉพาะอย่างยิ่งโปแลนด์และลิทัวเนียนั้นประธานธิบดีหญิงได้ออกมาเรียกร้องให้นาโต้ส่งกองกำลังไปประจำการอย่างถาวรทีเดียว ซึ่งขณะนี้กองกำลังนาโต้ได้กระทำตามคำเรียกร้องจริงๆ และมีการซ้อมรบในบริเวณนั้นเป็นระยะ
ข่าวนี้เป็นข่าวใหญ่ในยุโรปนะครับ ไม่น่าจะตกข่าวกัน
ย้อนกลับมาที่คำถาม จขกท ครับ ถ้าดูในอดีตไม่นานมานี้ก่อนเกิดปัญหายึดไครเมียและยูเครน ความสัมพันธ์ระหว่างรัสเซียกับยุโรปเป็นไปได้ด้วยดีอย่างมากซึ่งจะเห็นว่าเศรษฐกิจของรัสเซียกับยุโรปเจริญรุ่งเรืองต่างก็ได้ประโยชน์ซึ่งกันและกัน แม้แต่ความสัมพันธ์ระหว่างรัสเซียกับอเมริกาก็เป็นไปอย่างถ้อยทีถ้อยอาศัย นักลงทุนจากตะวันตกถึงได้ไปลงทุนอยู่ในรัสเซียเป็นจำนวนมากซึ่งที่มากที่สุดคือ การค้าส่วนใหญ่ที่สุดคือรัสเซียกับเยอรมนี
ในอดีตรัสเซียร่วมประชุมนาโต้เป็นปกติ และเป็นหนึ่งใน G8 ตอนนี้เหลือแค่ G7 ส่วนการประชุมนาโต้ล่าสุดรัสเซียเพิ่งได้รับเชิญกลับมาเข้าร่วมอีก
แม้แต่ในด้านการเมืองตะวันตกก็ไม่ได้เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับการเมืองภายในของรัสเซียอย่างมีนัยยะสำคัญ ทั้งๆ ที่รู้กันอยู่ว่าปูตินปกครองประเทศด้วยระบอบเผด็จการ
ฉะนั้นในอนาคตหากสามารถทำความตกลงแก้ปัญหาในยูเครนที่ยอมรับได้ทั้ง 2 ฝ่าย และความกลัวของประเทศเล็กๆ ทีกล่าวมาข้างต้นผ่อนคลายลง ความเป็นไปได้ที่ความสัมพันธ์ระหร่างรัสเซียกับยุโรปย่อมเป็นไปได้แน่นอน
ทั้งนี้ทั้งนั้นต้องรอดูนโยบายจากประธานาธีบดีคนใหม่ของสหรัฐด้วย
เพิ่มเติมล่าสุด ปูตินเพิ่งไปยืนฟินแลนด์เมื่อไม่กี่วันมานี่เองเพื่อยื่นไมตรีว่าไม่ต้องการเป็นศัตรู แต่จะทำให้เพื่อนบ้านเชื่อใจแค่ไหนต้องรอดูสถานะการณ์ต่อไป ที่แน่ๆ ด้วยความสัมพันธ์ระหว่างยุโรปหรือนาโต้กับรัสเซียช่วงนี้ยังตึงเครียดอยู่เหมือนเดิม
แสดงความคิดเห็น
รัสเซีย ก็เป็นประเทศหนึ่งในยุโรป สหรัฐอเมริกาจะป้องกันไม่ให้ รัสเซียคบกับประเทศต่าง ๆ ในยุโรปได้อย่างไร