******************กระทู้สาระ ใครที่ไม่ชอบสาระ ก็ผ่านไปเลยครับ
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%97%E0%B8%98%E0%B8%B4%E0%B8%9F%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%8B%E0%B8%B4%E0%B8%AA%E0%B8%95%E0%B9%8C
ลัทธิฟาสซิสต์ (อังกฤษ: Fascism) เป็นชาติ-อำนาจนิยมมูลวิวัติรูปแบบหนึ่ง ซึ่งมีความโดดเด่นในทวีปยุโรปช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ขบวนการฟาสซิสต์รุ่นแรก ๆ กำเนิดขึ้นในประเทศอิตาลีราวสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง โดยได้รับอิทธิพลจากสหการนิยมชาติ (national syndicalism) การรวมจุดยืนฝ่ายขวาโดยทั่วไปเข้ากับการเมืองฝ่ายซ้ายบางส่วน ซึ่งตรงข้ามกับคอมมิวนิสต์ สังคมนิยม เสรีประชาธิปไตย และอนุรักษนิยมดั้งเดิม แม้ว่าโดยปกติลัทธิฟาสซิสต์จะถูกจัดเป็น
"ขวาจัด" ตามการแบ่งพิสัยมโนคติทางการเมืองแบบซ้าย–ขวา (political spectrum) ดั้งเดิม พวกฟาสซิสต์เองและนักวิจารณ์บางส่วนแย้งว่าคำอธิบายนี้ไม่เพียงพอ
นักฟาสซิสต์มุ่งรวมชาติของพวกตนผ่านรัฐเผด็จการเบ็ดเสร็จที่สนับสนุนการระดมชุมชนชาติอย่างกว้างขวางและมีลักษณะเด่นโดยมีพรรคแนวหน้า (vanguard party) ซึ่งริเริ่มขบวนการการเมืองปฏิวัติโดยมุ่งหมายเพื่อจัดระเบียบชาติใหม่ตามหลักการของอุดมการณ์ลัทธิฟาสซิสต์ ขบวนการฟาสซิสต์ทั้งหลายมีลักษณะร่วมบางอย่าง รวมทั้งความเคารพรัฐ การอุทิศให้แก่ผู้นำที่เข้มแข็ง และการเน้นความคลั่งชาติ (ultranationalism) และแสนยนิยม ลัทธิฟาสซิสต์มองการเมือง ความรุนแรง สงครามและจักรวรรดินิยมว่าเป็นวิธีการบรรลุการฟื้นพลังของชาติ และยืนยันว่าชาติที่เข้มแข็งกว่ามีสิทธิที่จะขยายอาณาเขตโดยเข้าแทนที่ชาติที่อ่อนแอกว่า
อุดมการณ์ลัทธิฟาสซิสต์อ้างความสำคัญสูงสุดของรัฐอย่างต่อเนื่อง ผู้นำอย่างเบนิโต มุสโสลินีในอิตาลี และอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ในเยอรมนี รวมรัฐและอ้างอำนาจที่แย้งไม่ได้ ลัทธิฟาสซิสต์ยืมทฤษฎีและศัพท์จากสังคมนิยม แต่แทนที่การมุ่งไปยังความขัดแย้งทางชนชั้นของสังคมนิยมด้วยการมุ่งไปยังความขัดแย้งระหว่างชาติและเชื้อชาติ ลัทธิฟาสซิสต์สนับสนุนระบบเศรษฐกิจแบบผสม โดยมีเป้าหมายหลักเพื่อบรรลุการพึ่งตนเองทางเศรษฐกิจเพื่อให้ชาติมีเอกราชผ่านนโยบายเศรษฐกิจแบบคุ้มครองและมีการแทรกแซงจากรัฐ
หลังสงครามโลกครั้งที่สอง มีพรรคการเมืองน้อยพรรคที่อธิบายตนเองอย่างเปิดเผยว่าเป็นฟาสซิสต์ และคู่แข่งทางการเมืองมักใช้คำนี้เป็นคำหยาบ บางครั้งคำว่าลัทธิฟาสซิสต์ใหม่หรือหลังลัทธิฟาสซิสต์ใช้อย่างเป็นทางการเพื่ออธิบายพรรคการเมืองขวาจัดที่มีอุดมการณ์คล้ายคลึงหรือมีรากมาจากขบวนการฟาสซิสต์ในคริสต์ศตวรรษที่ 20
ที่มาของชื่อ
ในอิตาลีเรียกการปกครองแบบนี้ว่า ฟาซิโอ เป็นภาษาละติน แปลว่า สหภาพ หรือ สมาชิก ทั้งยังแปลได้อีกว่าเป็นแขนงไม้ที่พันรอบขวาน (มีมาตั้งแต่สมัยโรมัน โดยเรียกว่า ฟาสเซส (fasces) ถือโดยลิคเตอร์ (lictor) ซึ่งเป็นกลุ่มคนที่มีหน้าที่ในการดูแลความสงบเรียบร้อย)
ลัทธิฟาสซิสต์เป็นชื่อของอาณาจักรโรมันสมัยก่อน
มันคือไม้เมื่อไม้มีอยู่แท่งเดียวก็จะหักได้ง่าย แต่เมื่อนำไม้มารวมกันนั้นจะหักได้ยากมาก เหมือนกับเมื่อชาติมีประชาชนมารวมกันก็จะทำให้ชาติแข็งแกร่งไร้เทียมทาน แต่กลายเป็นว่าลัทธิฟาสซิสต์ ไม่แข็งแกร่งเท่าที่ควรเพราะประชาชนเบื่อกับการทำงาน และการปฏิวัติของลัทธิฟาสซิสต์ ซึ่งทำให้ลัทธิฟาสซิสต์สิ้นสุดในปี พ.ศ. 2486
*******************************************************************
น่าจะเอาลัทธินี้กลับมาใช้อีกครั้งนะครับ เพราะทุกวันนี้บ้านเมืองไทย ขาดความสามัคคีกันเหลือเกิน
นึกถึงสมัยโบราณ ถ้าเราเป็นเหมือนชาวบางระจัน เราคงไม่ต้องมารบกันเองแบบทุกวันนี้
"เมื่อไม้มีอยู่แท่งเดียวก็จะหักได้ง่าย แต่เมื่อนำไม้มารวมกันนั้นจะหักได้ยาก" (โจ ขิง)
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
ลัทธิฟาสซิสต์ (อังกฤษ: Fascism) เป็นชาติ-อำนาจนิยมมูลวิวัติรูปแบบหนึ่ง ซึ่งมีความโดดเด่นในทวีปยุโรปช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ขบวนการฟาสซิสต์รุ่นแรก ๆ กำเนิดขึ้นในประเทศอิตาลีราวสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง โดยได้รับอิทธิพลจากสหการนิยมชาติ (national syndicalism) การรวมจุดยืนฝ่ายขวาโดยทั่วไปเข้ากับการเมืองฝ่ายซ้ายบางส่วน ซึ่งตรงข้ามกับคอมมิวนิสต์ สังคมนิยม เสรีประชาธิปไตย และอนุรักษนิยมดั้งเดิม แม้ว่าโดยปกติลัทธิฟาสซิสต์จะถูกจัดเป็น "ขวาจัด" ตามการแบ่งพิสัยมโนคติทางการเมืองแบบซ้าย–ขวา (political spectrum) ดั้งเดิม พวกฟาสซิสต์เองและนักวิจารณ์บางส่วนแย้งว่าคำอธิบายนี้ไม่เพียงพอ
นักฟาสซิสต์มุ่งรวมชาติของพวกตนผ่านรัฐเผด็จการเบ็ดเสร็จที่สนับสนุนการระดมชุมชนชาติอย่างกว้างขวางและมีลักษณะเด่นโดยมีพรรคแนวหน้า (vanguard party) ซึ่งริเริ่มขบวนการการเมืองปฏิวัติโดยมุ่งหมายเพื่อจัดระเบียบชาติใหม่ตามหลักการของอุดมการณ์ลัทธิฟาสซิสต์ ขบวนการฟาสซิสต์ทั้งหลายมีลักษณะร่วมบางอย่าง รวมทั้งความเคารพรัฐ การอุทิศให้แก่ผู้นำที่เข้มแข็ง และการเน้นความคลั่งชาติ (ultranationalism) และแสนยนิยม ลัทธิฟาสซิสต์มองการเมือง ความรุนแรง สงครามและจักรวรรดินิยมว่าเป็นวิธีการบรรลุการฟื้นพลังของชาติ และยืนยันว่าชาติที่เข้มแข็งกว่ามีสิทธิที่จะขยายอาณาเขตโดยเข้าแทนที่ชาติที่อ่อนแอกว่า
อุดมการณ์ลัทธิฟาสซิสต์อ้างความสำคัญสูงสุดของรัฐอย่างต่อเนื่อง ผู้นำอย่างเบนิโต มุสโสลินีในอิตาลี และอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ในเยอรมนี รวมรัฐและอ้างอำนาจที่แย้งไม่ได้ ลัทธิฟาสซิสต์ยืมทฤษฎีและศัพท์จากสังคมนิยม แต่แทนที่การมุ่งไปยังความขัดแย้งทางชนชั้นของสังคมนิยมด้วยการมุ่งไปยังความขัดแย้งระหว่างชาติและเชื้อชาติ ลัทธิฟาสซิสต์สนับสนุนระบบเศรษฐกิจแบบผสม โดยมีเป้าหมายหลักเพื่อบรรลุการพึ่งตนเองทางเศรษฐกิจเพื่อให้ชาติมีเอกราชผ่านนโยบายเศรษฐกิจแบบคุ้มครองและมีการแทรกแซงจากรัฐ
หลังสงครามโลกครั้งที่สอง มีพรรคการเมืองน้อยพรรคที่อธิบายตนเองอย่างเปิดเผยว่าเป็นฟาสซิสต์ และคู่แข่งทางการเมืองมักใช้คำนี้เป็นคำหยาบ บางครั้งคำว่าลัทธิฟาสซิสต์ใหม่หรือหลังลัทธิฟาสซิสต์ใช้อย่างเป็นทางการเพื่ออธิบายพรรคการเมืองขวาจัดที่มีอุดมการณ์คล้ายคลึงหรือมีรากมาจากขบวนการฟาสซิสต์ในคริสต์ศตวรรษที่ 20
ที่มาของชื่อ
ในอิตาลีเรียกการปกครองแบบนี้ว่า ฟาซิโอ เป็นภาษาละติน แปลว่า สหภาพ หรือ สมาชิก ทั้งยังแปลได้อีกว่าเป็นแขนงไม้ที่พันรอบขวาน (มีมาตั้งแต่สมัยโรมัน โดยเรียกว่า ฟาสเซส (fasces) ถือโดยลิคเตอร์ (lictor) ซึ่งเป็นกลุ่มคนที่มีหน้าที่ในการดูแลความสงบเรียบร้อย)
ลัทธิฟาสซิสต์เป็นชื่อของอาณาจักรโรมันสมัยก่อน มันคือไม้เมื่อไม้มีอยู่แท่งเดียวก็จะหักได้ง่าย แต่เมื่อนำไม้มารวมกันนั้นจะหักได้ยากมาก เหมือนกับเมื่อชาติมีประชาชนมารวมกันก็จะทำให้ชาติแข็งแกร่งไร้เทียมทาน แต่กลายเป็นว่าลัทธิฟาสซิสต์ ไม่แข็งแกร่งเท่าที่ควรเพราะประชาชนเบื่อกับการทำงาน และการปฏิวัติของลัทธิฟาสซิสต์ ซึ่งทำให้ลัทธิฟาสซิสต์สิ้นสุดในปี พ.ศ. 2486
*******************************************************************
น่าจะเอาลัทธินี้กลับมาใช้อีกครั้งนะครับ เพราะทุกวันนี้บ้านเมืองไทย ขาดความสามัคคีกันเหลือเกิน
นึกถึงสมัยโบราณ ถ้าเราเป็นเหมือนชาวบางระจัน เราคงไม่ต้องมารบกันเองแบบทุกวันนี้