หน้าแรก
คอมมูนิตี้
ห้อง
แท็ก
คลับ
ห้อง
แก้ไขปักหมุด
ดูทั้งหมด
เกิดข้อผิดพลาดบางอย่าง
ลองใหม่
แท็ก
แก้ไขปักหมุด
ดูเพิ่มเติม
เกิดข้อผิดพลาดบางอย่าง
ลองใหม่
{room_name}
{name}
{description}
กิจกรรม
แลกพอยต์
อื่นๆ
ตั้งกระทู้
เข้าสู่ระบบ / สมัครสมาชิก
เว็บไซต์ในเครือ
Bloggang
Pantown
PantipMarket
Maggang
ติดตามพันทิป
ดาวน์โหลดได้แล้ววันนี้
เกี่ยวกับเรา
กฎ กติกา และมารยาท
คำแนะนำการโพสต์แสดงความเห็น
นโยบายเกี่ยวกับข้อมูลส่วนบุคคล
สิทธิ์การใช้งานของสมาชิก
ติดต่อทีมงาน Pantip
ติดต่อลงโฆษณา
ร่วมงานกับ Pantip
Download App Pantip
Pantip Certified Developer
. . . . ลมหายใจ . . . .
กระทู้สนทนา
ศาสนาพุทธ
ปฏิบัติธรรม
. . . "เข้า" ก็ให้ "รู้"
. . . "ออก" ก็ให้ "รู้"
การกำหนดอยู่ นี้คือ "สติ"
การที่จดจ่อและตั้งมั่นอยู่ นี้คือ "สมาธิ"
การที่รู้อยู่ นี้คือ "ปัญญา"
และเมื่อรู้ทั้งหมด ก็พึงละสละทั้งหมด ไม่ยึดมั่นถือมั่นว่าเป็นเรา เป็นของเรา นี้คือ"วิปัสสนา"
มาเพียรทางธรรมด้วยกันเถิด ...สวัสดีครับ
▼
กำลังโหลดข้อมูล...
▼
แสดงความคิดเห็น
กระทู้ที่คุณอาจสนใจ
สติ สมาธิ ปัญญา เป็นอัญญะมัญญะปัจจัย
เมื่อกล่าวถึง สติ สมาธิ ปัญญา แล้ว มักมีความเข้าใจไปในคนละทิศคนละทาง ตามแต่ความรู้ความเข้าใจ ที่ได้รับมาจากแหล่งข้อมูลต่างๆ ที่มีอยู่ และตนได้เรียนรู้มาจากแหล่งเหล่านั้น บ้างก็เน้นไปที่ "สติเพีย
ในความฝันของใครสักคน
สติสัมปชัญญะเป็นสันตติธรรมนำไปสู่ปัญญา
สืบเนื่องจากปัจจุบันนี้ มีความพยายามที่จะแยกข้อธรรมที่ไม่อาจแยกเป็นสองได้ ให้แยกจากกันในทางปฏิบัติธรรม ข้อธรรมที่ว่านั้นคือ "สัมมาสมาธิ" โดยองค์ประกอบแห่ง "สมาธิ" ตามพระพุทธวจนะคื
ในความฝันของใครสักคน
ดูจิตไม่ได้จริง หากไม่ดูสมาธิไปด้วย
สติ สมาธิ เป็นสิ่งประกอบร่วมกันไป 1.สติอย่างไรจึงมีสมาธิด้วย 2.สมาธิอย่างไรจึงมีสติด้วย 2ข้อนี้ ประกอบร่วมกันไปใน "ผู้รู้,ตัวรู้ ,รู้" จะเรียกว่าอะไรก็ได้ ใจจะบอกได้เป็นอย่างไรขณะนั้น มีผู้ก
สมาชิกหมายเลข 3237158
หลวงปู่มั่นสอนไม่ฟุ่มเฟือยเรื่องฝึกสมาธิ วิปัสสนา
"การบำเพ็ญสมาธิ เอาแค่เพียง เป็นบาทของวิปัสสนา คือการพิจารณา ก็พอแล้ว ส่วนการจะอยู่ในวิหารธรรมนั้น ก็ให้กำหนดรู้ การหลงฌานมากไปนั้น จะทำให้ตกไป สู่...โ
สมาชิกหมายเลข 8547569
ในการปฏิบัติธรรม ควร/ต้อง มีสติกำหนดรู้ ตามสภาพแห่งความเป็นจริง ไม่ว่า สุข ทุกข์ หรือ เฉย
ในการปฏิบัติธรรม ควร/ต้องมีสติกำหนดรู้ ตามสภาพแห่งความเป็นจริงไม่ว่า สุข ทุกข์ หรือ เฉย ซึ่งไม่ใช่ว่า จะต้องทำให้รู้ เฉยๆ หรือให้เบรออยู่ในกรอบแล้วให้เ
P_vicha
อย่ามีศรัทธาที่ปราศจากปัญญา
คนที่มีศรัทธามากๆ คือประกอบไปด้วยศรัทธา มันประกอบไปด้วยความเชื่อ มันอ่อนด้วยปัญญา สมาธิก็เก่ง แต่ว่าวิปัสสนาไม่มีมันเห็นไปหน้าเดียว เห็นไปรูปเดียว ก็เป็นไป คิดอะไรก็ไม่รู้ มันมีศรัทธา ในทางพระพุทธศาสน
สมาชิกหมายเลข 1015575
หลวงตาท่านเปรียบสมาธิกับปัญญา เป็นเหมือนเท้าซ้ายกับเท้าขวา ต้องสลับกันก้าว
” ครูบาอาจารย์ “ หลวงตาท่านเปรียบสมาธิกับปัญญา เป็นเหมือนเท้าซ้ายกับเท้าขวา ต้องสลับกันก้าว ในการปฏิบัติเพื่อตัดกิเลสขั้นต่างๆ ต้องอาศัยการก้าวไปของสมาธิและปัญญาสลับกันไป พอพิจารณาไประยะ
สมาชิกหมายเลข 2748147
หลักธรรมทั้งหมดของพุทธ คือไม่ยึดมั่นถือมั่น
คำกล่าวนี้มีหลักฐานอ้างอิง ทั้งพุทธวจนะและคำสอนพระพุทธทาส ในคอมเม้นต์13และข้อความข้างล่าง " ประโยคที่ว่า... สิ่งทั้งหลาย ทั้งปวง ไม่ควรยึดมั่น ถือมั่น (สัพเพ
สมาชิกหมายเลข 8513731
จิตตกกระแสพระนิพพาน
การเจริญสมถสมาธิ จนจิตรวมเป็นอัปนาสมาธิ ต่ำสุด คือ ฌาน 1 ยิ่งถึงฌาน 4 ได้ยิ่งดี เพราะฌาน 4 จะเหลือแต่จิตตั้งมั่น เด่นดวงเป็นเอกัคตาและที่สำคัญ คือ เกิดอุเบกขารมณ์ คือ ความเป็นกลางอย่างยิ่ง กิเลสอวิชชา
สมาชิกหมายเลข 2748147
ผู้สั่งสมสุตตะแบบปริยัติงูพิษ สั่งสมสุตตะกับสัทธรรมปฎิรูป สั่งสมการสร้างสัทธรรมปฎิรูป มีทุคคติภูมิมีอบายเป็นที่ไป
#ความอภิมหาความซวยมาเยือน! หาครูบาอาจารย์ไม่เป็น เที่ยวไปฟังโมฆะบุรุษอลัชชีอามิสทายาท ผู้มีปฏิภาณเป็นอย่างไร? บทว่า พหุสฺสุตํ คือ ผู้เป็นพหูสูตมี ๒ พวก คือผู้เป็นพหูสูต
สมาชิกหมายเลข 7840764
อ่านกระทู้อื่นที่พูดคุยเกี่ยวกับ
ศาสนาพุทธ
ปฏิบัติธรรม
บนสุด
ล่างสุด
อ่านเฉพาะข้อความเจ้าของกระทู้
หน้า:
หน้า
จาก
แชร์ :
โปรดศึกษาและยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคลก่อนเริ่มใช้งาน
อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี่
ยอมรับ
. . . . ลมหายใจ . . . .
. . . "ออก" ก็ให้ "รู้"
การกำหนดอยู่ นี้คือ "สติ"
การที่จดจ่อและตั้งมั่นอยู่ นี้คือ "สมาธิ"
การที่รู้อยู่ นี้คือ "ปัญญา"
และเมื่อรู้ทั้งหมด ก็พึงละสละทั้งหมด ไม่ยึดมั่นถือมั่นว่าเป็นเรา เป็นของเรา นี้คือ"วิปัสสนา"
มาเพียรทางธรรมด้วยกันเถิด ...สวัสดีครับ