แน่นอนว่า คำว่า เชย เป็นคำที่เกิดจากคำว่า เชลย เป็นคำพูดในภาษาเขมร
คนที่ถูกเรียกว่าเชลย ถูกกระทำย่ำยี ต่างๆนา ในอดีต
และ พวกยวน จำพวกหนึ่ง ที่เคยเป็นญาติกับ เชลยจากเมืองเชลียง เคยพูดภาษาเดียวกัน
(เมืองเชลียง ,เชืยงชื่น,เชียงจืน( จืน ในบริบทนี้แปลว่า ชิน ตะกั่ว) เมืองที่เคยได้ชื่อว่าร่ำรวยจากการค้าขายกับคนจีน มีสิ่งมีค่า เช่น แร่ธาตุในรูปแบบตะกั่ว หรือชินอยู่มาก ก็อยากครอบครองเมืองนี้ ต้องการเอาจืนหรือชินมาสร้างลูกกระสุน)
และเมื่อ
ยวนกลุ่มนั้น ตกเป็น ขี้ข้า ของพม่า กว่า 200 ปี ชาวพม่า สร้างคำใหม่ขึ้นมารองรับคำว่ายวน (โยนกฯ) ว่า ยุน ,ยืน,ยึน แปลว่า ขี้ข้า หรือเชลย
พวกโยนก เอามาล้อกันเอง ว่า จืน (เชยในปัจจุบัน เป็นไปได้อีกความหมายหนึ่งหมายถึง ชาวเชียงจืน) หารู้ไม่เป็นคำที่พม่า ดูถูกยังเอาคำเขามาใช้ล้อเล่นกันอีก
ทำไมพวกพม่าถึงครองรัฐชาน ได้ทั้งผอง ก็ถามว่า พวกโปตุเกส และฮอลันดา พ่อค้าขายของ เอาอาวุธมาขาย ให้ทั้งอังวะ และ โยเดีย อาวุธที่มีประสิทธิภาพ พวกชาน หรือจะสู้ไหว
การดูถูกกันมันมีมานานตั้งแต่อดีต
คำที่เกิดขึ้น มีหลายคำมาก เช่น คำว่า แตกฉาน(ลักษณะ การเขียนในแบบ ของเขมร สันสกฤต) ฉานแตก (ลักษณะการเขียนแบบ ไต)
แตกฉาน แปลว่า ว. เชี่ยวชาญ, ชำนิชำนาญ, เช่น ปัญญาแตกฉาน. ก. กระจัดกระจายไป เช่น แตกฉานซ่านเซ็น.
เป็นกลวิธีทับศัพท์ชาวเขมร ในการข่มชาว ชาน เซียน สาม(บาลี)ศยาม(สันสกฤต) ชานแตก(ลิลิตยวนพ่าย) เพราะความชำนาญ ของคนเขมรและแขก
แตกฉาน ชาน( คำไต ),สาม(บาลี)ศยาม(สันสกฤต) ส่วน ชาน,สาม,ในคำเขมรเทียบเสียง คือ สยาม และสร้างความหมายของคำว่า ชาน ขึ้นใหม่ คือ ชำนาญ ,ชาญ ( ชาญ,ชำนาญ เป็นคำเยินยอของเขมร ที่ต้องการเอาคำว่า ชาญ เทียบหรือล้อ ตลกโปกฮากับคำว่า ชาน ของไต ) เมื่อชาน แตก ก็เป็นทีของเขมร ในการทับศัพท์ขึ้นมาใช้ทันที * ชานในที่นี้หมายถึง สยาม(ภาษาเขมร) ในอดีต ในการเล่นคำของ เขมรอยู่แล้ว เช่น แตกฉานซ่านเซ็น คำไวพจน์ในบทกวี ประมาณย้ำความสะใจ
คำว่า เสี้ยม และ ทราม,ซาม ก็เป็นคำ ที่คนเขมร สร้างมาเพื่อหลอกด่าคน ชาน ,สาม ,( คำว่า สยาม เขมรสร้างขึ้นมาเพื่อ เรียกคน ชาน,เซียน ,ซาน ,สาม(บาลี เรียก ชามหรือสาม เช่น สามเทศะ สันสกฤต ศยาม) )
เช่นเดียว กับคำว่า ฟุ้งซ่าน แตกซ่าน (เป็นความหมายในทางไม่ดีทั้งนั้น)
คำว้า(ว่า) แพ้,แป๊ จากที่ในภาษาล้านนา แปลว่า ชนะ ถูกตีความหมายใหม่ ว่าคือการแพ้พ่าย และคนล้านนา เปลี่ยนมาเป็นคำว่า ก๊าน,ค้าน(ฝ่ายค้าน ก็ว่า) แทน
เมืองแป้ แพร่ เพี้ยนมาจาก คำว่า แพ้ (ในบริบท ที่มีความหมายว่า ชนะ) (ศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหง เรียกว่า เมิฺงพน ) คำใหม่ที่ได้จากเมือง แพร่ คือ แพร เมืองแพร่มีผ้าแพร ขึ้นชื่อ
ฉ เป็นตัวอักษรในภาษาไทยสมัยหลังที่พยายามยัดเยียด ให้ออกเสียงของ รัฐชาน ว่า รัฐฉาน
ซึ่งในอดีต ฉ ถูกใช้ในภาษาเขมรเป็นส่วนมาก หรือไม่ลิ้นคนเขมรโบราณอาจจะออกเสียง ช เพี้ยนเป็น ฉ ก็เป็นได้
รูปแบบวรรณกรรมในยุคต้นอยุธยา(กาพย์ฉบัง ฉันทลักษณ์เขมร วรรณคดียุคต้นอยุธยา)
http://www.sujitwongthes.com/2012/04/weekly20042555/
แล้วพวกท่าน มีความสุขในการเหยียดชาติพันธุ์กันอยู่หรือไม่
เชลย จาก เมืองเชลียง
คนที่ถูกเรียกว่าเชลย ถูกกระทำย่ำยี ต่างๆนา ในอดีต
และ พวกยวน จำพวกหนึ่ง ที่เคยเป็นญาติกับ เชลยจากเมืองเชลียง เคยพูดภาษาเดียวกัน
(เมืองเชลียง ,เชืยงชื่น,เชียงจืน( จืน ในบริบทนี้แปลว่า ชิน ตะกั่ว) เมืองที่เคยได้ชื่อว่าร่ำรวยจากการค้าขายกับคนจีน มีสิ่งมีค่า เช่น แร่ธาตุในรูปแบบตะกั่ว หรือชินอยู่มาก ก็อยากครอบครองเมืองนี้ ต้องการเอาจืนหรือชินมาสร้างลูกกระสุน)
และเมื่อ
ยวนกลุ่มนั้น ตกเป็น ขี้ข้า ของพม่า กว่า 200 ปี ชาวพม่า สร้างคำใหม่ขึ้นมารองรับคำว่ายวน (โยนกฯ) ว่า ยุน ,ยืน,ยึน แปลว่า ขี้ข้า หรือเชลย
พวกโยนก เอามาล้อกันเอง ว่า จืน (เชยในปัจจุบัน เป็นไปได้อีกความหมายหนึ่งหมายถึง ชาวเชียงจืน) หารู้ไม่เป็นคำที่พม่า ดูถูกยังเอาคำเขามาใช้ล้อเล่นกันอีก
ทำไมพวกพม่าถึงครองรัฐชาน ได้ทั้งผอง ก็ถามว่า พวกโปตุเกส และฮอลันดา พ่อค้าขายของ เอาอาวุธมาขาย ให้ทั้งอังวะ และ โยเดีย อาวุธที่มีประสิทธิภาพ พวกชาน หรือจะสู้ไหว
การดูถูกกันมันมีมานานตั้งแต่อดีต
คำที่เกิดขึ้น มีหลายคำมาก เช่น คำว่า แตกฉาน(ลักษณะ การเขียนในแบบ ของเขมร สันสกฤต) ฉานแตก (ลักษณะการเขียนแบบ ไต)
แตกฉาน แปลว่า ว. เชี่ยวชาญ, ชำนิชำนาญ, เช่น ปัญญาแตกฉาน. ก. กระจัดกระจายไป เช่น แตกฉานซ่านเซ็น.
เป็นกลวิธีทับศัพท์ชาวเขมร ในการข่มชาว ชาน เซียน สาม(บาลี)ศยาม(สันสกฤต) ชานแตก(ลิลิตยวนพ่าย) เพราะความชำนาญ ของคนเขมรและแขก
แตกฉาน ชาน( คำไต ),สาม(บาลี)ศยาม(สันสกฤต) ส่วน ชาน,สาม,ในคำเขมรเทียบเสียง คือ สยาม และสร้างความหมายของคำว่า ชาน ขึ้นใหม่ คือ ชำนาญ ,ชาญ ( ชาญ,ชำนาญ เป็นคำเยินยอของเขมร ที่ต้องการเอาคำว่า ชาญ เทียบหรือล้อ ตลกโปกฮากับคำว่า ชาน ของไต ) เมื่อชาน แตก ก็เป็นทีของเขมร ในการทับศัพท์ขึ้นมาใช้ทันที * ชานในที่นี้หมายถึง สยาม(ภาษาเขมร) ในอดีต ในการเล่นคำของ เขมรอยู่แล้ว เช่น แตกฉานซ่านเซ็น คำไวพจน์ในบทกวี ประมาณย้ำความสะใจ
คำว่า เสี้ยม และ ทราม,ซาม ก็เป็นคำ ที่คนเขมร สร้างมาเพื่อหลอกด่าคน ชาน ,สาม ,( คำว่า สยาม เขมรสร้างขึ้นมาเพื่อ เรียกคน ชาน,เซียน ,ซาน ,สาม(บาลี เรียก ชามหรือสาม เช่น สามเทศะ สันสกฤต ศยาม) )
เช่นเดียว กับคำว่า ฟุ้งซ่าน แตกซ่าน (เป็นความหมายในทางไม่ดีทั้งนั้น)
คำว้า(ว่า) แพ้,แป๊ จากที่ในภาษาล้านนา แปลว่า ชนะ ถูกตีความหมายใหม่ ว่าคือการแพ้พ่าย และคนล้านนา เปลี่ยนมาเป็นคำว่า ก๊าน,ค้าน(ฝ่ายค้าน ก็ว่า) แทน
เมืองแป้ แพร่ เพี้ยนมาจาก คำว่า แพ้ (ในบริบท ที่มีความหมายว่า ชนะ) (ศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหง เรียกว่า เมิฺงพน ) คำใหม่ที่ได้จากเมือง แพร่ คือ แพร เมืองแพร่มีผ้าแพร ขึ้นชื่อ
ฉ เป็นตัวอักษรในภาษาไทยสมัยหลังที่พยายามยัดเยียด ให้ออกเสียงของ รัฐชาน ว่า รัฐฉาน
ซึ่งในอดีต ฉ ถูกใช้ในภาษาเขมรเป็นส่วนมาก หรือไม่ลิ้นคนเขมรโบราณอาจจะออกเสียง ช เพี้ยนเป็น ฉ ก็เป็นได้
รูปแบบวรรณกรรมในยุคต้นอยุธยา(กาพย์ฉบัง ฉันทลักษณ์เขมร วรรณคดียุคต้นอยุธยา)
http://www.sujitwongthes.com/2012/04/weekly20042555/
แล้วพวกท่าน มีความสุขในการเหยียดชาติพันธุ์กันอยู่หรือไม่