“การบริหารหนี้โครงการรับจำนำข้าว ซึ่งเป็นการกู้เงิน และสภาพคล่องของธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) จะทำได้ตามกรอบไม่เกิน 5 แสนล้านบาท ภายในสิ้นปีนี้ ตามที่คณะรัฐมนตรี (ครม.) กำหนดไว้ เนื่องจากตอนนี้เกินกรอบอยู่ประมาณ 800 ล้านบาทเท่านั้น และทางกระทรวงพาณิชย์ได้มีการระบายข้าวอย่างต่อเนื่อง ทำให้มีเงินมาลดหนี้ดังกล่าว
“ในสิ้นปี 2558 ที่ผ่านมา หนี้จำนำข้าวเกินกรอบ 5 แสนล้านบาท อยู่กว่า 1 หมื่นล้านบาท จึงต้องมีการขยายเวลาการลดหนี้ให้อยู่ในกรอบได้ภายในสิ้นปีนี้ ซึ่งเป็นการกู้เงินของ ธ.ก.ส.จำนวน 4.1 แสนล้านบาท และใช้สภาพคล่อง 9 หมื่นล้านบาท โดยเงินที่ระบายข้าวได้จะไปลดหนี้ในส่วนของสภาพคล่องของ ธ.ก.ส. ให้หมดก่อนถึงจะนำมาชำระหนี้เงินกู้
คาดว่าจะมีการขาดทุนจากโครงการจำนำข้าวจำนวนมาก ทำให้เงินที่ระบายข้าวไม่เพียงพอมาชำระหนี้ และคาดว่า จะมีหนี้ที่ชำระไม่ได้กว่า 4 แสนล้านบาท ซึ่งทางกระทรวงการคลัง จะหารือกับสำนักงบประมาณ ให้ตั้งงบประมาณเพื่อมาใช้ชำระหนี้ในระยะปานกลาง เพื่อให้เกิดความชัดเจน เช่น หากมีหนี้ค้าง 4 แสนล้านบาท ก็ให้ตั้งงบประมาณมาใช้เป็นเวลา 10 ปี หรือ ปีละ 4 หมื่นล้านบาท เป็นต้น
“สำหรับการปิดบัญชีโครงการรับจำนำข้าว ล่าสุด 30 ก.ย. 58 มีผลขาดทุนเพิ่มขึ้นจากการปิดบัญชีรอบ 30 ก.ย. 57 ไม่มาก โดยการปิดบัญชีรอบปี 57 มีผลขาดทุนประมาณ 7 แสนล้านบาท เป็นโครงการรับจำนำข้าวสมัยรัฐบาล ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร 5 แสนล้านบาท”
นั่นเป็นคำพูดของ สุวิชญ โรจนวานิช ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ (สบน.) ที่เปิดเผยถึงตัวเลขความเสียหาย และการขาดทุนของโครงการรับจำนำข้าว โดยแยกเป็นตัวเลขการปิดบัญชีโครงการรับจำนำข้าวรอบ 30 ก.ย. 57 และ รอบ 30 ก.ย. 58 และหากแยกเฉพาะผลการขาดทุนของรัฐบาลยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ในปี 57 จำนวน 5 แสนล้านบาท และ ปี 58 อีกจำนวนหนึ่งซึ่งยังไม่มีการเปิดเผยตัวเลขออกมาให้เห็น เพียงแต่บอกว่า เป็นการขาดทุนน้อยกว่าปี 57 เท่านั้น
ดังนั้น เมื่อสรุปรวมตัวเลขขาดทุนจากโครงการรับจำนำข้าวสองปี คือ ปี 57 ที่สรุปตัวเลขออกมาแล้ว เฉพาะที่อยู่ในยุครัฐบาลยิ่งลักษณ์ ชินวัตร จำนวน 5 แสนล้านบาท และ ปี 58 อีกจำนวนหนึ่ง แม้ไม่ได้ระบุตัวเลข และบอกว่าน้อยกว่าปี 57 แต่ก็น่าจะเป็นตัวเลขหลักแสนล้านบาทแน่นอน รวมสองปี ก็น่าจะมหาศาล
ขณะเดียวกัน จากคำพูดของผู้อำนวยการสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ (สบน.) คาดว่าจะมีหนี้สูญไม่น้อยกว่า 4 แสนล้านบาท จะมีการตั้งงบประมาณมาใช้หนี้เป็นเวลา 10 ปี ๆ ละ 4 หมื่นล้านบาท ดังนั้น ถ้าตัวเลขขาดทุนเกิน 5 แสนล้านบาท ก็แน่นอนว่าต้องงบประมาณใช้หนี้เพิ่มขึ้นและใช้เวลาอีกหลายปี รวมแล้วก็น่าจะเป็นเวลา 20 ปี
เมื่อพิจารณาจากจำนวนตัวเลขขาดทุน และจำนวนปีที่ต้องชดใช้ก็ต้องบอกว่า “ใช้หนี้กันหัวโต” หรือตามที่มีการพูดกันว่า “ใช้หนี้กันถึงชาติหน้า” นั่นแหละ แต่รับรองว่าไม่มีทางตลก เพราะเงินจำนวนดังกล่าว เป็นภาระของคนไทย โดยเฉพาะคนไทยที่ต้องเสียภาษีทุกคน ที่ต้องมารับผิดชอบแทนรัฐบาลที่ไม่รับผิดชอบ ที่สร้างความเสียหาย สร้างผลกระทบมากมาย นับไม่ถ้วน
สำหรับ ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เวลานี้กำลังถูกดำเนินคดีอาญาในศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ในทางคดีก็มีการเดินหน้าไปเรื่อยๆ ซึ่งตามขั้นตอนตามกระบวนการยุติธรรมในศาลฎีกาฯ ก็จะใช้เวลาไม่นานจนเกินไปนัก ราวปีเศษ ก็น่าจะสรุปแล้ว ส่วนผลจะออกมาอย่างไรก็ต้องติดตาม แม้ว่าในเรื่องนี้น่าจะพอเดาอนาคตได้บ้างแล้ว แต่เอาเป็นว่ารอศาลตัดสินดีกว่า
โครงการรับจำนำข้าวนับเป็นโครงการอัปยศ เป็นโครงการมักง่าย โดยใช้งบประมาณของรัฐไปซื้อข้าวจากชาวนาในราคาที่สูงเกินจริง เป้าหมายเพียงเพื่อเจตนาทุจริต ของพวกนักการเมืองบางกลุ่มที่อยู่ในเครือข่ายอำนาจเท่านั้น ขณะเดียวกัน ยังได้กำไรสองต่อ คือ สามารถสร้างคะแนนนิยมอย่างได้ผล แบบที่ไม่ต้องลงทุนสักบาท เพราะเงินก็เป็นเงินภาษีของชาวบ้าน แต่คนที่ได้หน้าและได้เงิน กลับเป็นคนเพียงแค่หยิบมือเท่านั้น
ดังนั้น นาทีนี้สำหรับการทุจริตจากโครงการรับจำนำข้าว จะต้องมีการสืบสาวราวเรื่องกันจนถึงที่สุด เพื่อหาคนที่เกี่ยวข้องมาดำเนินคดีและชดใช้ค่าเสียหายให้หมด ซึ่งคงจะไม่มีวิธีใดจะดีไปกว่า การให้มีการดำเนินคดี ตามกระบวนการศาลยุติธรรม และเวลานี้หลายคนก็เริ่มเดินไปทางนั้นแล้ว ซึ่งเป็นวิธีที่ดีที่สุด เพื่อเป็นทางออกและตัดปัญหาในอนาคตว่า “ถูกกลั่นแกล้ง” นอกเสียจากไม่ยอมรับคำตัดสินของศาล นั่นก็อีกเรื่อง แต่รับรองว่าหากเป็นแบบนั้นจริงพวกเขาก็จะไม่มีที่ยืนแน่นอน!
“การบริหารหนี้โครงการรับจำนำข้าว ซึ่งเป็นการกู้เงิน และสภาพคล่องของธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) จะทำได้ตามกรอบไม่เกิน 5 แสนล้านบาท ภายในสิ้นปีนี้ ตามที่คณะรัฐมนตรี (ครม.) กำหนดไว้ เนื่องจากตอนนี้เกินกรอบอยู่ประมาณ 800 ล้านบาทเท่านั้น และทางกระทรวงพาณิชย์ได้มีการระบายข้าวอย่างต่อเนื่อง ทำให้มีเงินมาลดหนี้ดังกล่าว
“ในสิ้นปี 2558 ที่ผ่านมา หนี้จำนำข้าวเกินกรอบ 5 แสนล้านบาท อยู่กว่า 1 หมื่นล้านบาท จึงต้องมีการขยายเวลาการลดหนี้ให้อยู่ในกรอบได้ภายในสิ้นปีนี้ ซึ่งเป็นการกู้เงินของ ธ.ก.ส.จำนวน 4.1 แสนล้านบาท และใช้สภาพคล่อง 9 หมื่นล้านบาท โดยเงินที่ระบายข้าวได้จะไปลดหนี้ในส่วนของสภาพคล่องของ ธ.ก.ส. ให้หมดก่อนถึงจะนำมาชำระหนี้เงินกู้
คาดว่าจะมีการขาดทุนจากโครงการจำนำข้าวจำนวนมาก ทำให้เงินที่ระบายข้าวไม่เพียงพอมาชำระหนี้ และคาดว่า จะมีหนี้ที่ชำระไม่ได้กว่า 4 แสนล้านบาท ซึ่งทางกระทรวงการคลัง จะหารือกับสำนักงบประมาณ ให้ตั้งงบประมาณเพื่อมาใช้ชำระหนี้ในระยะปานกลาง เพื่อให้เกิดความชัดเจน เช่น หากมีหนี้ค้าง 4 แสนล้านบาท ก็ให้ตั้งงบประมาณมาใช้เป็นเวลา 10 ปี หรือ ปีละ 4 หมื่นล้านบาท เป็นต้น
“สำหรับการปิดบัญชีโครงการรับจำนำข้าว ล่าสุด 30 ก.ย. 58 มีผลขาดทุนเพิ่มขึ้นจากการปิดบัญชีรอบ 30 ก.ย. 57 ไม่มาก โดยการปิดบัญชีรอบปี 57 มีผลขาดทุนประมาณ 7 แสนล้านบาท เป็นโครงการรับจำนำข้าวสมัยรัฐบาล ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร 5 แสนล้านบาท”
นั่นเป็นคำพูดของ สุวิชญ โรจนวานิช ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ (สบน.) ที่เปิดเผยถึงตัวเลขความเสียหาย และการขาดทุนของโครงการรับจำนำข้าว โดยแยกเป็นตัวเลขการปิดบัญชีโครงการรับจำนำข้าวรอบ 30 ก.ย. 57 และ รอบ 30 ก.ย. 58 และหากแยกเฉพาะผลการขาดทุนของรัฐบาลยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ในปี 57 จำนวน 5 แสนล้านบาท และ ปี 58 อีกจำนวนหนึ่งซึ่งยังไม่มีการเปิดเผยตัวเลขออกมาให้เห็น เพียงแต่บอกว่า เป็นการขาดทุนน้อยกว่าปี 57 เท่านั้น
ดังนั้น เมื่อสรุปรวมตัวเลขขาดทุนจากโครงการรับจำนำข้าวสองปี คือ ปี 57 ที่สรุปตัวเลขออกมาแล้ว เฉพาะที่อยู่ในยุครัฐบาลยิ่งลักษณ์ ชินวัตร จำนวน 5 แสนล้านบาท และ ปี 58 อีกจำนวนหนึ่ง แม้ไม่ได้ระบุตัวเลข และบอกว่าน้อยกว่าปี 57 แต่ก็น่าจะเป็นตัวเลขหลักแสนล้านบาทแน่นอน รวมสองปี ก็น่าจะมหาศาล
ขณะเดียวกัน จากคำพูดของผู้อำนวยการสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ (สบน.) คาดว่าจะมีหนี้สูญไม่น้อยกว่า 4 แสนล้านบาท จะมีการตั้งงบประมาณมาใช้หนี้เป็นเวลา 10 ปี ๆ ละ 4 หมื่นล้านบาท ดังนั้น ถ้าตัวเลขขาดทุนเกิน 5 แสนล้านบาท ก็แน่นอนว่าต้องงบประมาณใช้หนี้เพิ่มขึ้นและใช้เวลาอีกหลายปี รวมแล้วก็น่าจะเป็นเวลา 20 ปี
เมื่อพิจารณาจากจำนวนตัวเลขขาดทุน และจำนวนปีที่ต้องชดใช้ก็ต้องบอกว่า “ใช้หนี้กันหัวโต” หรือตามที่มีการพูดกันว่า “ใช้หนี้กันถึงชาติหน้า” นั่นแหละ แต่รับรองว่าไม่มีทางตลก เพราะเงินจำนวนดังกล่าว เป็นภาระของคนไทย โดยเฉพาะคนไทยที่ต้องเสียภาษีทุกคน ที่ต้องมารับผิดชอบแทนรัฐบาลที่ไม่รับผิดชอบ ที่สร้างความเสียหาย สร้างผลกระทบมากมาย นับไม่ถ้วน
สำหรับ ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เวลานี้กำลังถูกดำเนินคดีอาญาในศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ในทางคดีก็มีการเดินหน้าไปเรื่อยๆ ซึ่งตามขั้นตอนตามกระบวนการยุติธรรมในศาลฎีกาฯ ก็จะใช้เวลาไม่นานจนเกินไปนัก ราวปีเศษ ก็น่าจะสรุปแล้ว ส่วนผลจะออกมาอย่างไรก็ต้องติดตาม แม้ว่าในเรื่องนี้น่าจะพอเดาอนาคตได้บ้างแล้ว แต่เอาเป็นว่ารอศาลตัดสินดีกว่า
โครงการรับจำนำข้าวนับเป็นโครงการอัปยศ เป็นโครงการมักง่าย โดยใช้งบประมาณของรัฐไปซื้อข้าวจากชาวนาในราคาที่สูงเกินจริง เป้าหมายเพียงเพื่อเจตนาทุจริต ของพวกนักการเมืองบางกลุ่มที่อยู่ในเครือข่ายอำนาจเท่านั้น ขณะเดียวกัน ยังได้กำไรสองต่อ คือ สามารถสร้างคะแนนนิยมอย่างได้ผล แบบที่ไม่ต้องลงทุนสักบาท เพราะเงินก็เป็นเงินภาษีของชาวบ้าน แต่คนที่ได้หน้าและได้เงิน กลับเป็นคนเพียงแค่หยิบมือเท่านั้น
ดังนั้น นาทีนี้สำหรับการทุจริตจากโครงการรับจำนำข้าว จะต้องมีการสืบสาวราวเรื่องกันจนถึงที่สุด เพื่อหาคนที่เกี่ยวข้องมาดำเนินคดีและชดใช้ค่าเสียหายให้หมด ซึ่งคงจะไม่มีวิธีใดจะดีไปกว่า การให้มีการดำเนินคดี ตามกระบวนการศาลยุติธรรม และเวลานี้หลายคนก็เริ่มเดินไปทางนั้นแล้ว ซึ่งเป็นวิธีที่ดีที่สุด เพื่อเป็นทางออกและตัดปัญหาในอนาคตว่า “ถูกกลั่นแกล้ง” นอกเสียจากไม่ยอมรับคำตัดสินของศาล นั่นก็อีกเรื่อง แต่รับรองว่าหากเป็นแบบนั้นจริงพวกเขาก็จะไม่มีที่ยืนแน่นอน!
http://manager.co.th/Politics/ViewNews.aspx?NewsID=9590000051372
เรียนเชิญแนวร่วมเสื้อแดง สมาชิกเพื่อไทย ติ่งยิ่งลักษณ์มาร่วมใช้หนี้กันครับ
“ในสิ้นปี 2558 ที่ผ่านมา หนี้จำนำข้าวเกินกรอบ 5 แสนล้านบาท อยู่กว่า 1 หมื่นล้านบาท จึงต้องมีการขยายเวลาการลดหนี้ให้อยู่ในกรอบได้ภายในสิ้นปีนี้ ซึ่งเป็นการกู้เงินของ ธ.ก.ส.จำนวน 4.1 แสนล้านบาท และใช้สภาพคล่อง 9 หมื่นล้านบาท โดยเงินที่ระบายข้าวได้จะไปลดหนี้ในส่วนของสภาพคล่องของ ธ.ก.ส. ให้หมดก่อนถึงจะนำมาชำระหนี้เงินกู้
คาดว่าจะมีการขาดทุนจากโครงการจำนำข้าวจำนวนมาก ทำให้เงินที่ระบายข้าวไม่เพียงพอมาชำระหนี้ และคาดว่า จะมีหนี้ที่ชำระไม่ได้กว่า 4 แสนล้านบาท ซึ่งทางกระทรวงการคลัง จะหารือกับสำนักงบประมาณ ให้ตั้งงบประมาณเพื่อมาใช้ชำระหนี้ในระยะปานกลาง เพื่อให้เกิดความชัดเจน เช่น หากมีหนี้ค้าง 4 แสนล้านบาท ก็ให้ตั้งงบประมาณมาใช้เป็นเวลา 10 ปี หรือ ปีละ 4 หมื่นล้านบาท เป็นต้น
“สำหรับการปิดบัญชีโครงการรับจำนำข้าว ล่าสุด 30 ก.ย. 58 มีผลขาดทุนเพิ่มขึ้นจากการปิดบัญชีรอบ 30 ก.ย. 57 ไม่มาก โดยการปิดบัญชีรอบปี 57 มีผลขาดทุนประมาณ 7 แสนล้านบาท เป็นโครงการรับจำนำข้าวสมัยรัฐบาล ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร 5 แสนล้านบาท”
นั่นเป็นคำพูดของ สุวิชญ โรจนวานิช ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ (สบน.) ที่เปิดเผยถึงตัวเลขความเสียหาย และการขาดทุนของโครงการรับจำนำข้าว โดยแยกเป็นตัวเลขการปิดบัญชีโครงการรับจำนำข้าวรอบ 30 ก.ย. 57 และ รอบ 30 ก.ย. 58 และหากแยกเฉพาะผลการขาดทุนของรัฐบาลยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ในปี 57 จำนวน 5 แสนล้านบาท และ ปี 58 อีกจำนวนหนึ่งซึ่งยังไม่มีการเปิดเผยตัวเลขออกมาให้เห็น เพียงแต่บอกว่า เป็นการขาดทุนน้อยกว่าปี 57 เท่านั้น
ดังนั้น เมื่อสรุปรวมตัวเลขขาดทุนจากโครงการรับจำนำข้าวสองปี คือ ปี 57 ที่สรุปตัวเลขออกมาแล้ว เฉพาะที่อยู่ในยุครัฐบาลยิ่งลักษณ์ ชินวัตร จำนวน 5 แสนล้านบาท และ ปี 58 อีกจำนวนหนึ่ง แม้ไม่ได้ระบุตัวเลข และบอกว่าน้อยกว่าปี 57 แต่ก็น่าจะเป็นตัวเลขหลักแสนล้านบาทแน่นอน รวมสองปี ก็น่าจะมหาศาล
ขณะเดียวกัน จากคำพูดของผู้อำนวยการสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ (สบน.) คาดว่าจะมีหนี้สูญไม่น้อยกว่า 4 แสนล้านบาท จะมีการตั้งงบประมาณมาใช้หนี้เป็นเวลา 10 ปี ๆ ละ 4 หมื่นล้านบาท ดังนั้น ถ้าตัวเลขขาดทุนเกิน 5 แสนล้านบาท ก็แน่นอนว่าต้องงบประมาณใช้หนี้เพิ่มขึ้นและใช้เวลาอีกหลายปี รวมแล้วก็น่าจะเป็นเวลา 20 ปี
เมื่อพิจารณาจากจำนวนตัวเลขขาดทุน และจำนวนปีที่ต้องชดใช้ก็ต้องบอกว่า “ใช้หนี้กันหัวโต” หรือตามที่มีการพูดกันว่า “ใช้หนี้กันถึงชาติหน้า” นั่นแหละ แต่รับรองว่าไม่มีทางตลก เพราะเงินจำนวนดังกล่าว เป็นภาระของคนไทย โดยเฉพาะคนไทยที่ต้องเสียภาษีทุกคน ที่ต้องมารับผิดชอบแทนรัฐบาลที่ไม่รับผิดชอบ ที่สร้างความเสียหาย สร้างผลกระทบมากมาย นับไม่ถ้วน
สำหรับ ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เวลานี้กำลังถูกดำเนินคดีอาญาในศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ในทางคดีก็มีการเดินหน้าไปเรื่อยๆ ซึ่งตามขั้นตอนตามกระบวนการยุติธรรมในศาลฎีกาฯ ก็จะใช้เวลาไม่นานจนเกินไปนัก ราวปีเศษ ก็น่าจะสรุปแล้ว ส่วนผลจะออกมาอย่างไรก็ต้องติดตาม แม้ว่าในเรื่องนี้น่าจะพอเดาอนาคตได้บ้างแล้ว แต่เอาเป็นว่ารอศาลตัดสินดีกว่า
โครงการรับจำนำข้าวนับเป็นโครงการอัปยศ เป็นโครงการมักง่าย โดยใช้งบประมาณของรัฐไปซื้อข้าวจากชาวนาในราคาที่สูงเกินจริง เป้าหมายเพียงเพื่อเจตนาทุจริต ของพวกนักการเมืองบางกลุ่มที่อยู่ในเครือข่ายอำนาจเท่านั้น ขณะเดียวกัน ยังได้กำไรสองต่อ คือ สามารถสร้างคะแนนนิยมอย่างได้ผล แบบที่ไม่ต้องลงทุนสักบาท เพราะเงินก็เป็นเงินภาษีของชาวบ้าน แต่คนที่ได้หน้าและได้เงิน กลับเป็นคนเพียงแค่หยิบมือเท่านั้น
ดังนั้น นาทีนี้สำหรับการทุจริตจากโครงการรับจำนำข้าว จะต้องมีการสืบสาวราวเรื่องกันจนถึงที่สุด เพื่อหาคนที่เกี่ยวข้องมาดำเนินคดีและชดใช้ค่าเสียหายให้หมด ซึ่งคงจะไม่มีวิธีใดจะดีไปกว่า การให้มีการดำเนินคดี ตามกระบวนการศาลยุติธรรม และเวลานี้หลายคนก็เริ่มเดินไปทางนั้นแล้ว ซึ่งเป็นวิธีที่ดีที่สุด เพื่อเป็นทางออกและตัดปัญหาในอนาคตว่า “ถูกกลั่นแกล้ง” นอกเสียจากไม่ยอมรับคำตัดสินของศาล นั่นก็อีกเรื่อง แต่รับรองว่าหากเป็นแบบนั้นจริงพวกเขาก็จะไม่มีที่ยืนแน่นอน!
“การบริหารหนี้โครงการรับจำนำข้าว ซึ่งเป็นการกู้เงิน และสภาพคล่องของธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) จะทำได้ตามกรอบไม่เกิน 5 แสนล้านบาท ภายในสิ้นปีนี้ ตามที่คณะรัฐมนตรี (ครม.) กำหนดไว้ เนื่องจากตอนนี้เกินกรอบอยู่ประมาณ 800 ล้านบาทเท่านั้น และทางกระทรวงพาณิชย์ได้มีการระบายข้าวอย่างต่อเนื่อง ทำให้มีเงินมาลดหนี้ดังกล่าว
“ในสิ้นปี 2558 ที่ผ่านมา หนี้จำนำข้าวเกินกรอบ 5 แสนล้านบาท อยู่กว่า 1 หมื่นล้านบาท จึงต้องมีการขยายเวลาการลดหนี้ให้อยู่ในกรอบได้ภายในสิ้นปีนี้ ซึ่งเป็นการกู้เงินของ ธ.ก.ส.จำนวน 4.1 แสนล้านบาท และใช้สภาพคล่อง 9 หมื่นล้านบาท โดยเงินที่ระบายข้าวได้จะไปลดหนี้ในส่วนของสภาพคล่องของ ธ.ก.ส. ให้หมดก่อนถึงจะนำมาชำระหนี้เงินกู้
คาดว่าจะมีการขาดทุนจากโครงการจำนำข้าวจำนวนมาก ทำให้เงินที่ระบายข้าวไม่เพียงพอมาชำระหนี้ และคาดว่า จะมีหนี้ที่ชำระไม่ได้กว่า 4 แสนล้านบาท ซึ่งทางกระทรวงการคลัง จะหารือกับสำนักงบประมาณ ให้ตั้งงบประมาณเพื่อมาใช้ชำระหนี้ในระยะปานกลาง เพื่อให้เกิดความชัดเจน เช่น หากมีหนี้ค้าง 4 แสนล้านบาท ก็ให้ตั้งงบประมาณมาใช้เป็นเวลา 10 ปี หรือ ปีละ 4 หมื่นล้านบาท เป็นต้น
“สำหรับการปิดบัญชีโครงการรับจำนำข้าว ล่าสุด 30 ก.ย. 58 มีผลขาดทุนเพิ่มขึ้นจากการปิดบัญชีรอบ 30 ก.ย. 57 ไม่มาก โดยการปิดบัญชีรอบปี 57 มีผลขาดทุนประมาณ 7 แสนล้านบาท เป็นโครงการรับจำนำข้าวสมัยรัฐบาล ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร 5 แสนล้านบาท”
นั่นเป็นคำพูดของ สุวิชญ โรจนวานิช ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ (สบน.) ที่เปิดเผยถึงตัวเลขความเสียหาย และการขาดทุนของโครงการรับจำนำข้าว โดยแยกเป็นตัวเลขการปิดบัญชีโครงการรับจำนำข้าวรอบ 30 ก.ย. 57 และ รอบ 30 ก.ย. 58 และหากแยกเฉพาะผลการขาดทุนของรัฐบาลยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ในปี 57 จำนวน 5 แสนล้านบาท และ ปี 58 อีกจำนวนหนึ่งซึ่งยังไม่มีการเปิดเผยตัวเลขออกมาให้เห็น เพียงแต่บอกว่า เป็นการขาดทุนน้อยกว่าปี 57 เท่านั้น
ดังนั้น เมื่อสรุปรวมตัวเลขขาดทุนจากโครงการรับจำนำข้าวสองปี คือ ปี 57 ที่สรุปตัวเลขออกมาแล้ว เฉพาะที่อยู่ในยุครัฐบาลยิ่งลักษณ์ ชินวัตร จำนวน 5 แสนล้านบาท และ ปี 58 อีกจำนวนหนึ่ง แม้ไม่ได้ระบุตัวเลข และบอกว่าน้อยกว่าปี 57 แต่ก็น่าจะเป็นตัวเลขหลักแสนล้านบาทแน่นอน รวมสองปี ก็น่าจะมหาศาล
ขณะเดียวกัน จากคำพูดของผู้อำนวยการสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ (สบน.) คาดว่าจะมีหนี้สูญไม่น้อยกว่า 4 แสนล้านบาท จะมีการตั้งงบประมาณมาใช้หนี้เป็นเวลา 10 ปี ๆ ละ 4 หมื่นล้านบาท ดังนั้น ถ้าตัวเลขขาดทุนเกิน 5 แสนล้านบาท ก็แน่นอนว่าต้องงบประมาณใช้หนี้เพิ่มขึ้นและใช้เวลาอีกหลายปี รวมแล้วก็น่าจะเป็นเวลา 20 ปี
เมื่อพิจารณาจากจำนวนตัวเลขขาดทุน และจำนวนปีที่ต้องชดใช้ก็ต้องบอกว่า “ใช้หนี้กันหัวโต” หรือตามที่มีการพูดกันว่า “ใช้หนี้กันถึงชาติหน้า” นั่นแหละ แต่รับรองว่าไม่มีทางตลก เพราะเงินจำนวนดังกล่าว เป็นภาระของคนไทย โดยเฉพาะคนไทยที่ต้องเสียภาษีทุกคน ที่ต้องมารับผิดชอบแทนรัฐบาลที่ไม่รับผิดชอบ ที่สร้างความเสียหาย สร้างผลกระทบมากมาย นับไม่ถ้วน
สำหรับ ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เวลานี้กำลังถูกดำเนินคดีอาญาในศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ในทางคดีก็มีการเดินหน้าไปเรื่อยๆ ซึ่งตามขั้นตอนตามกระบวนการยุติธรรมในศาลฎีกาฯ ก็จะใช้เวลาไม่นานจนเกินไปนัก ราวปีเศษ ก็น่าจะสรุปแล้ว ส่วนผลจะออกมาอย่างไรก็ต้องติดตาม แม้ว่าในเรื่องนี้น่าจะพอเดาอนาคตได้บ้างแล้ว แต่เอาเป็นว่ารอศาลตัดสินดีกว่า
โครงการรับจำนำข้าวนับเป็นโครงการอัปยศ เป็นโครงการมักง่าย โดยใช้งบประมาณของรัฐไปซื้อข้าวจากชาวนาในราคาที่สูงเกินจริง เป้าหมายเพียงเพื่อเจตนาทุจริต ของพวกนักการเมืองบางกลุ่มที่อยู่ในเครือข่ายอำนาจเท่านั้น ขณะเดียวกัน ยังได้กำไรสองต่อ คือ สามารถสร้างคะแนนนิยมอย่างได้ผล แบบที่ไม่ต้องลงทุนสักบาท เพราะเงินก็เป็นเงินภาษีของชาวบ้าน แต่คนที่ได้หน้าและได้เงิน กลับเป็นคนเพียงแค่หยิบมือเท่านั้น
ดังนั้น นาทีนี้สำหรับการทุจริตจากโครงการรับจำนำข้าว จะต้องมีการสืบสาวราวเรื่องกันจนถึงที่สุด เพื่อหาคนที่เกี่ยวข้องมาดำเนินคดีและชดใช้ค่าเสียหายให้หมด ซึ่งคงจะไม่มีวิธีใดจะดีไปกว่า การให้มีการดำเนินคดี ตามกระบวนการศาลยุติธรรม และเวลานี้หลายคนก็เริ่มเดินไปทางนั้นแล้ว ซึ่งเป็นวิธีที่ดีที่สุด เพื่อเป็นทางออกและตัดปัญหาในอนาคตว่า “ถูกกลั่นแกล้ง” นอกเสียจากไม่ยอมรับคำตัดสินของศาล นั่นก็อีกเรื่อง แต่รับรองว่าหากเป็นแบบนั้นจริงพวกเขาก็จะไม่มีที่ยืนแน่นอน!
http://manager.co.th/Politics/ViewNews.aspx?NewsID=9590000051372