บท ตั้ง ของ วิธี เจริญ สติ
มหาสติปัฏฐานสูตร จาก หนังสือธรรมะใกล้ตัว ฉบับที่ 26 ค่ะ
บท ตั้ง นี้ มี ไว้ เพื่อให้ ทราบ ว่า จะ เอา ประโยชน์ อะไร จาก การ เจริญ สติ ตาม วิธี ของ
พระพุทธเจ้า ตลอด จน เข้าใจ ชัดๆกัน แต่ แรก ว่าการ เจริญ สติ คือ การ เอา สติ ไป รู้ อะไร
บ้าง จะ ได้ ไม่ ไขว้เขว ออก นอก ทางใน ภายหลัง
วิธี เจริญ สติ ของ พระพุทธเจ้า นั้น เป็น ไป เพื่อ พบ บรม สุข อัน มหัศจรรย์ การ จะ รู้จัก
รส สุข อัน มหัศจรรย์ นั้น จิต ต้อง แปร สภาพ เป็น ดวง ไฟ ใหญ่ ล้างผลาญ เชื้อ แห่ง ทุกข์ ให้
สิ้น ซาก ไม่ หลงเหลือ ส่วน ให้ กลับ กำเริบ เกิด เป็น ทุกข์ ทาง ใจ ขึ้น ได้ อีก
จิต ที่ สว่าง เป็นไฟ ใหญ่ ล้าง กิเลส นั้น คือ ภาวะ แห่ง การ บรรลุ มรรค ผล เรา ไม่ อาจ
บรรลุ มรรค ผล ด้วย การ ควบคุม ดิน ฟ้า อากาศ หรือ ร่างกาย ภายนอก ให้ เป็น ไป ใน ทาง ใดๆ
ทาง เดียว ที่ จะ ทำได้ คือ เจริญ สติ เพื่อ พัฒนา จิต ให้ อยู่ ใน สภาพ ที่ มี กำลัง มีค วาม ผ่องใส
เป็น อิสระ ไม่ หลง ‘ติด กับ ’ เหยื่อ ล่อ ทั้งหลาย กระทั่ง แก่กล้า พอ จะ ยก ระดับ ปฏิวัติ ตน
เอง หมุน ทวน กลับ จาก วังวน อุปาทาน ขึ้น สู่ สภาพ หลุดพ้น ที่ เด็ดขาด
หลุดพ้น จาก อะไร? หลุด จาก สิ่ง ที่ นึก ว่าเป็น ตัว เรา หลุดพ้น จาก ความ เกาะ เกี่ยว
ที่ ไร้ แก่นสาร ทั้งปวง สิ่ง ที่ พระพุทธเจ้า ทรง ให้ กำหนด รู้ นั่นแหละ คือ สิ่ง ที่ เรา กำลัง
เกาะ เกี่ยว โดย นึก ว่าเป็น เรา หรือ สำคัญ มั่นหมาย ว่าเป็น ของ เรา
สิ่ง ที่ พระพุทธเจ้า ทรง ให้ กำหนด รู้ มี อยู่ ๔ ประการ ได้แก่
๑) กาย ใน กาย
หมาย ถึง ให้ รู้ ส่วน ใด ส่วน หนึ่ง ของ ความ เป็น กาย เช่น ขณะ นี้ หลัง งอ หรือ หลัง
ตรง รู้ เพียง เท่า นี้ ก็ได้ ชื่อว่า มี สติ เห็น องค์ประกอบ หนึ่ง ของ กาย แล้ว และ เมื่อ รู้
เช่น นั้น ได้ ก็ ให้ ตาม รู้ ตาม ดู ต่อ ไป ว่า จะ มี สิ่ง ใด ให้ เห็น ภายใน ขอบเขต ของ กาย ได้
อีก เช่น ใน กาย นั่ง หลัง ตรง หรือ หลัง งอ นี้ กำลัง ต้องการ ลาก ลม เข้า หรือ ระบาย
ลม ออก หรือ หยุด ทั้ง ลม เข้า และ ลม ออก สงัด นิ่ง อยู่
ถ้า เพียร รู้ กาย ใน กาย ได้ เสมอๆ ก็ ย่อม เกิด สติ เห็น ตาม จริง ว่า กาย ไม่ ใช่ เรา ไม่
ว่า จะ ส่วน ย่อย หรือ ส่วน ใหญ่ โดย รวม เรา จะ รู้สึก อย่าง ที่ กาย ปรากฏ ให้ รู้สึก ไม่ ใช่
หลง ยึด ว่า กาย เป็น เรา อย่าง ที่ กิเลส มัน บงการ ให้ ยึด และ ใน ความ ไม่ ยึด กาย นั่นเอง
จิต ย่อม คลาย มีค วาม ผ่องใส ไม่ เป็น ที่ ตั้ง ของ ความ โลภโมโทสัน และ ความ เศร้า
โศก ทั้งหลาย
๒) เวทนา ใน เวทนา
หมาย ถึง ให้ ทราบ ความ รู้สึก หนึ่งๆ เช่น ขณะ นี้ กำลัง สบาย หรือ อึดอัด รู้ เพียง
เท่า นี้ ก็ได้ ชื่อว่า มี สติ เห็น หนึ่ง ใน ความ รู้สึก แล้ว และ เมื่อ รู้ เช่น นั้น ได้ ก็ ให้ เฝ้า ตาม รู้
ตาม ดู ต่อ ไป ว่า จะ มี สิ่ง ใด ให้ เห็น ภายใน ขอบเขต ของ ความ รู้สึก สุข ทุกข์ ได้ อีก ไม่
จำกัด ว่า ต้อง ดู ภาวะ ใด ภาวะ หนึ่ง ของ เวทนา เพียง อย่าง เดียว
ถ้า เพียร รู้ เวทนา ใน เวทนา ได้ เสมอๆ ก็ ย่อม เกิด สติ เห็น ตาม จริง ว่า เวทนา มี อยู่
หลากหลาย และ เหล่า เวทนา ก็ ไม่ ใช่ เรา ไม่ ว่า จะ สบาย หรือ อึดอัด เพียง ใด เรา
จะ รู้สึก อย่าง ที่ เวทนา ปรากฏ ให้ รู้สึก ไม่ ใช่ หลง ยึด ว่าความ สบาย เป็น ของ เรา กับ
ทั้ง ไม่ หลง ยึด ว่าความ อึดอัด เป็น เรื่อง ที่ ต้อง รีบ กำจัด ทิ้ง ไป จาก เรา และ ใน ความ ไม่
ยึด เวทนา นั่นเอง จิต ย่อม คลาย มีค วาม ผ่องใส ไม่ เป็น ที่ ตั้ง ของ ความ โลภโมโทสัน
และ ความ เศร้า โศก ทั้งหลาย
๓) จิต ใน จิต
หมาย ถึง ให้ รู้ ภาวะ ของ จิต ใน ขณะ หนึ่งๆ เช่น ขณะ นี้ กำลัง สงบ นิ่ง หรือ ขัดเคือง
รำคาญ รู้ เพียง เท่า นี้ ก็ได้ ชื่อว่า มี สติ เห็น ภาวะ ของ จิต ขณะ หนึ่ง แล้ว และ เมื่อ รู้ เช่น
นั้น ได้ ก็ ให้ เฝ้า ตาม รู้ ตาม ดู ต่อ ไป ว่า จะ มี สิ่ง ใด ให้ เห็น ภายใน ขอบเขต ของ ความ เป็น
จิต ได้ อีก ไม่ จำกัด ว่า ต้อง ดู ภาวะ ใด ภาวะ หนึ่ง ของ จิต เพียง อย่าง เดียว
ถ้า เพียร รู้ จิต ใน จิต ได้ เสมอๆ ก็ ย่อม เกิด สติ เห็น ตาม จริง ว่า จิต มี อยู่ หลากหลาย
และ บรรดา จิต ก็ ไม่ ใช่ เรา ไม่ ว่า จะ อยู่ ใน ภาวะ สงบ นิ่ง หรือ อยู่ ใน ภาวะ ขัดเคือง
รำคาญ เรา จะ รู้สึก อย่าง ที่ จิต ปรากฏ สภาพ ให้ รู้สึก ไม่ ใช่ หลง ยึด ว่าความ สงบ นิ่ง
ควร เป็น สภาพ ดั้งเดิม ของ จิต เรา กับ ทั้ง ไม่ หลง ยึด ว่าความ ขัดเคือง รำคาญ ต้อง ไม่
เกิด ขึ้น กับ จิต ของ เรา และ ใน ความ ไม่ ยึด จิต นั่นเอง จิต ย่อม คลาย มีค วาม ผ่องใส
ไม่ เป็น ที่ ตั้ง ของ ความ โลภโมโทสัน และ ความ เศร้า โศก ทั้งหลาย
๔) ธรรม ใน ธรรม
หมาย ถึง ให้ รู้ สภาพธรรม ต่างๆ ใน แต่ละ ขณะ เช่น ขณะ นี้ ระลอก ความ คิด ผุด
ขึ้น หรือ ดับ ลง รู้ เพียง เท่า นี้ ก็ได้ ชื่อว่า มี สติ เห็น สภาพธรรม ใน แต่ละ ขณะ แล้ว และ
เมื่อ รู้ เช่น นั้น ได้ ก็ ให้ เฝ้า ตาม รู้ ตาม ดู ต่อ ไป ว่า จะ มี สิ่ง ใด ให้ เห็น ภายใน ขอบเขต ของ
สภาพธรรม ต่างๆ ได้ อีก ไม่ จำกัด ว่า ต้อง ดู ภาวะ ใด ภาวะ หนึ่ง ของ สภาพธรรม เพียง
อย่าง เดียว
ถ้า เพียร รู้ ธรรม ใน ธรรม ได้ เสมอๆ ก็ ย่อม เกิด สติ เห็น ตาม จริง ว่า ธรรม มี อยู่
หลากหลาย และ ปวง ธรรม ก็ ไม่ ใช่ เรา ไม่ ว่า สิ่ง ที่ ผุด ขึ้น ขณะ นี้ หรือ สิ่ง ที่ ลับ ล่วง ไป
แล้ว เรา จะ รู้สึก อย่าง ที่ ธรรม ปรากฏ สภาวะ ให้ รู้สึก ไม่ ใช่ หลง ยึด ว่า สิ่ง ใด สิ่ง หนึ่ง ที่
ผุด ขึ้น เป็น เรา กับ ทั้ง ไม่ หลง ยึด ว่า สิ่ง ที่ ลับ ล่วง ไป แล้ว เคย เป็น เรา และ ใน ความ ไม่
ยึด ธรรม นั่นเอง จิต ย่อม คลาย มีค วาม ผ่องใส ไม่ เป็น ที่ ตั้ง ของ ความ โลภโมโทสัน
และ ความ เศร้า โศก ทั้งหลาย
จาก ความ รู้สึก ว่า กาย เวทนา จิต ธรรม ไม่ ใช่ เรา จะ พัฒนา จน กลาย เป็นความ รู้ ชัด
ว่า ไม่ มี สิ่ง ใด เป็น เรา และ เมื่อ รู้ ชัด อย่าง ต่อ เนื่อง ย่อม คลาย จาก อาการ ยึด ทั้งปวง เมื่อ
คลาย จาก อาการ ยึด ทั้งปวง ย่อม ลิ้ม รส ความ ว่าง ว่าย อด เยี่ยม กว่า รส ทั้งปวง ปาน ใด
บท ตั้ง ของ วิธี เจริญ สติ -- มหาสติปัฏฐานสูตร จาก หนังสือธรรมะใกล้ตัว ฉบับที่ 26 ค่ะ
มหาสติปัฏฐานสูตร จาก หนังสือธรรมะใกล้ตัว ฉบับที่ 26 ค่ะ
บท ตั้ง นี้ มี ไว้ เพื่อให้ ทราบ ว่า จะ เอา ประโยชน์ อะไร จาก การ เจริญ สติ ตาม วิธี ของ
พระพุทธเจ้า ตลอด จน เข้าใจ ชัดๆกัน แต่ แรก ว่าการ เจริญ สติ คือ การ เอา สติ ไป รู้ อะไร
บ้าง จะ ได้ ไม่ ไขว้เขว ออก นอก ทางใน ภายหลัง
วิธี เจริญ สติ ของ พระพุทธเจ้า นั้น เป็น ไป เพื่อ พบ บรม สุข อัน มหัศจรรย์ การ จะ รู้จัก
รส สุข อัน มหัศจรรย์ นั้น จิต ต้อง แปร สภาพ เป็น ดวง ไฟ ใหญ่ ล้างผลาญ เชื้อ แห่ง ทุกข์ ให้
สิ้น ซาก ไม่ หลงเหลือ ส่วน ให้ กลับ กำเริบ เกิด เป็น ทุกข์ ทาง ใจ ขึ้น ได้ อีก
จิต ที่ สว่าง เป็นไฟ ใหญ่ ล้าง กิเลส นั้น คือ ภาวะ แห่ง การ บรรลุ มรรค ผล เรา ไม่ อาจ
บรรลุ มรรค ผล ด้วย การ ควบคุม ดิน ฟ้า อากาศ หรือ ร่างกาย ภายนอก ให้ เป็น ไป ใน ทาง ใดๆ
ทาง เดียว ที่ จะ ทำได้ คือ เจริญ สติ เพื่อ พัฒนา จิต ให้ อยู่ ใน สภาพ ที่ มี กำลัง มีค วาม ผ่องใส
เป็น อิสระ ไม่ หลง ‘ติด กับ ’ เหยื่อ ล่อ ทั้งหลาย กระทั่ง แก่กล้า พอ จะ ยก ระดับ ปฏิวัติ ตน
เอง หมุน ทวน กลับ จาก วังวน อุปาทาน ขึ้น สู่ สภาพ หลุดพ้น ที่ เด็ดขาด
หลุดพ้น จาก อะไร? หลุด จาก สิ่ง ที่ นึก ว่าเป็น ตัว เรา หลุดพ้น จาก ความ เกาะ เกี่ยว
ที่ ไร้ แก่นสาร ทั้งปวง สิ่ง ที่ พระพุทธเจ้า ทรง ให้ กำหนด รู้ นั่นแหละ คือ สิ่ง ที่ เรา กำลัง
เกาะ เกี่ยว โดย นึก ว่าเป็น เรา หรือ สำคัญ มั่นหมาย ว่าเป็น ของ เรา
สิ่ง ที่ พระพุทธเจ้า ทรง ให้ กำหนด รู้ มี อยู่ ๔ ประการ ได้แก่
๑) กาย ใน กาย
หมาย ถึง ให้ รู้ ส่วน ใด ส่วน หนึ่ง ของ ความ เป็น กาย เช่น ขณะ นี้ หลัง งอ หรือ หลัง
ตรง รู้ เพียง เท่า นี้ ก็ได้ ชื่อว่า มี สติ เห็น องค์ประกอบ หนึ่ง ของ กาย แล้ว และ เมื่อ รู้
เช่น นั้น ได้ ก็ ให้ ตาม รู้ ตาม ดู ต่อ ไป ว่า จะ มี สิ่ง ใด ให้ เห็น ภายใน ขอบเขต ของ กาย ได้
อีก เช่น ใน กาย นั่ง หลัง ตรง หรือ หลัง งอ นี้ กำลัง ต้องการ ลาก ลม เข้า หรือ ระบาย
ลม ออก หรือ หยุด ทั้ง ลม เข้า และ ลม ออก สงัด นิ่ง อยู่
ถ้า เพียร รู้ กาย ใน กาย ได้ เสมอๆ ก็ ย่อม เกิด สติ เห็น ตาม จริง ว่า กาย ไม่ ใช่ เรา ไม่
ว่า จะ ส่วน ย่อย หรือ ส่วน ใหญ่ โดย รวม เรา จะ รู้สึก อย่าง ที่ กาย ปรากฏ ให้ รู้สึก ไม่ ใช่
หลง ยึด ว่า กาย เป็น เรา อย่าง ที่ กิเลส มัน บงการ ให้ ยึด และ ใน ความ ไม่ ยึด กาย นั่นเอง
จิต ย่อม คลาย มีค วาม ผ่องใส ไม่ เป็น ที่ ตั้ง ของ ความ โลภโมโทสัน และ ความ เศร้า
โศก ทั้งหลาย
๒) เวทนา ใน เวทนา
หมาย ถึง ให้ ทราบ ความ รู้สึก หนึ่งๆ เช่น ขณะ นี้ กำลัง สบาย หรือ อึดอัด รู้ เพียง
เท่า นี้ ก็ได้ ชื่อว่า มี สติ เห็น หนึ่ง ใน ความ รู้สึก แล้ว และ เมื่อ รู้ เช่น นั้น ได้ ก็ ให้ เฝ้า ตาม รู้
ตาม ดู ต่อ ไป ว่า จะ มี สิ่ง ใด ให้ เห็น ภายใน ขอบเขต ของ ความ รู้สึก สุข ทุกข์ ได้ อีก ไม่
จำกัด ว่า ต้อง ดู ภาวะ ใด ภาวะ หนึ่ง ของ เวทนา เพียง อย่าง เดียว
ถ้า เพียร รู้ เวทนา ใน เวทนา ได้ เสมอๆ ก็ ย่อม เกิด สติ เห็น ตาม จริง ว่า เวทนา มี อยู่
หลากหลาย และ เหล่า เวทนา ก็ ไม่ ใช่ เรา ไม่ ว่า จะ สบาย หรือ อึดอัด เพียง ใด เรา
จะ รู้สึก อย่าง ที่ เวทนา ปรากฏ ให้ รู้สึก ไม่ ใช่ หลง ยึด ว่าความ สบาย เป็น ของ เรา กับ
ทั้ง ไม่ หลง ยึด ว่าความ อึดอัด เป็น เรื่อง ที่ ต้อง รีบ กำจัด ทิ้ง ไป จาก เรา และ ใน ความ ไม่
ยึด เวทนา นั่นเอง จิต ย่อม คลาย มีค วาม ผ่องใส ไม่ เป็น ที่ ตั้ง ของ ความ โลภโมโทสัน
และ ความ เศร้า โศก ทั้งหลาย
๓) จิต ใน จิต
หมาย ถึง ให้ รู้ ภาวะ ของ จิต ใน ขณะ หนึ่งๆ เช่น ขณะ นี้ กำลัง สงบ นิ่ง หรือ ขัดเคือง
รำคาญ รู้ เพียง เท่า นี้ ก็ได้ ชื่อว่า มี สติ เห็น ภาวะ ของ จิต ขณะ หนึ่ง แล้ว และ เมื่อ รู้ เช่น
นั้น ได้ ก็ ให้ เฝ้า ตาม รู้ ตาม ดู ต่อ ไป ว่า จะ มี สิ่ง ใด ให้ เห็น ภายใน ขอบเขต ของ ความ เป็น
จิต ได้ อีก ไม่ จำกัด ว่า ต้อง ดู ภาวะ ใด ภาวะ หนึ่ง ของ จิต เพียง อย่าง เดียว
ถ้า เพียร รู้ จิต ใน จิต ได้ เสมอๆ ก็ ย่อม เกิด สติ เห็น ตาม จริง ว่า จิต มี อยู่ หลากหลาย
และ บรรดา จิต ก็ ไม่ ใช่ เรา ไม่ ว่า จะ อยู่ ใน ภาวะ สงบ นิ่ง หรือ อยู่ ใน ภาวะ ขัดเคือง
รำคาญ เรา จะ รู้สึก อย่าง ที่ จิต ปรากฏ สภาพ ให้ รู้สึก ไม่ ใช่ หลง ยึด ว่าความ สงบ นิ่ง
ควร เป็น สภาพ ดั้งเดิม ของ จิต เรา กับ ทั้ง ไม่ หลง ยึด ว่าความ ขัดเคือง รำคาญ ต้อง ไม่
เกิด ขึ้น กับ จิต ของ เรา และ ใน ความ ไม่ ยึด จิต นั่นเอง จิต ย่อม คลาย มีค วาม ผ่องใส
ไม่ เป็น ที่ ตั้ง ของ ความ โลภโมโทสัน และ ความ เศร้า โศก ทั้งหลาย
๔) ธรรม ใน ธรรม
หมาย ถึง ให้ รู้ สภาพธรรม ต่างๆ ใน แต่ละ ขณะ เช่น ขณะ นี้ ระลอก ความ คิด ผุด
ขึ้น หรือ ดับ ลง รู้ เพียง เท่า นี้ ก็ได้ ชื่อว่า มี สติ เห็น สภาพธรรม ใน แต่ละ ขณะ แล้ว และ
เมื่อ รู้ เช่น นั้น ได้ ก็ ให้ เฝ้า ตาม รู้ ตาม ดู ต่อ ไป ว่า จะ มี สิ่ง ใด ให้ เห็น ภายใน ขอบเขต ของ
สภาพธรรม ต่างๆ ได้ อีก ไม่ จำกัด ว่า ต้อง ดู ภาวะ ใด ภาวะ หนึ่ง ของ สภาพธรรม เพียง
อย่าง เดียว
ถ้า เพียร รู้ ธรรม ใน ธรรม ได้ เสมอๆ ก็ ย่อม เกิด สติ เห็น ตาม จริง ว่า ธรรม มี อยู่
หลากหลาย และ ปวง ธรรม ก็ ไม่ ใช่ เรา ไม่ ว่า สิ่ง ที่ ผุด ขึ้น ขณะ นี้ หรือ สิ่ง ที่ ลับ ล่วง ไป
แล้ว เรา จะ รู้สึก อย่าง ที่ ธรรม ปรากฏ สภาวะ ให้ รู้สึก ไม่ ใช่ หลง ยึด ว่า สิ่ง ใด สิ่ง หนึ่ง ที่
ผุด ขึ้น เป็น เรา กับ ทั้ง ไม่ หลง ยึด ว่า สิ่ง ที่ ลับ ล่วง ไป แล้ว เคย เป็น เรา และ ใน ความ ไม่
ยึด ธรรม นั่นเอง จิต ย่อม คลาย มีค วาม ผ่องใส ไม่ เป็น ที่ ตั้ง ของ ความ โลภโมโทสัน
และ ความ เศร้า โศก ทั้งหลาย
จาก ความ รู้สึก ว่า กาย เวทนา จิต ธรรม ไม่ ใช่ เรา จะ พัฒนา จน กลาย เป็นความ รู้ ชัด
ว่า ไม่ มี สิ่ง ใด เป็น เรา และ เมื่อ รู้ ชัด อย่าง ต่อ เนื่อง ย่อม คลาย จาก อาการ ยึด ทั้งปวง เมื่อ
คลาย จาก อาการ ยึด ทั้งปวง ย่อม ลิ้ม รส ความ ว่าง ว่าย อด เยี่ยม กว่า รส ทั้งปวง ปาน ใด