อันนี้จากประสบการณ์ที่พบมา
ทั้งๆเป็นลื้อเหมือนกัน ต่างกันที่ฝั่งหนึ่งอยู่เมืองเชียงรุ่ง(สิบสองปันนา) อีกฝั่งอยู่เมืองยอง(พม่า) สมัยก่อนมันคืออาณาจักรแจ้ลื้อ(เชอลี่ หรือต้าลี่ ในปัจจุบัน) เหมือนกัน
จากที่ สำนักข่าวมติชนไปสำรวจเมืองยองเมื่อไม่นานมานี้จะเห็นลักษณะนิสัยคนยองคล้ายคนจีน คือ ไม่ค่อยผสมข้ามเผ่า(หรืออาจะผสม) แต่คงนิยมความเป็นชนเผ่ายอง(ลื้อ)ไว้ มอญนี้สืบสาแหรกมาจากทิเบตมองโกลผสมแขกหน่อย ไม่สนใจผสมพันธุ์กันหน่อยเลยหรือ
คนในเมืองยองยังมีความเป็นยองสูง ถามว่าดีไหม ก็ต้องถามชาวไทยภูเขาหรือชาวอาข่า(มาเย่ว์ มาเยอะ เยอะแยะ มากมาย ยิ่งใหญ่ )มันดีไหม คนยองดูจะหยิ่งกว่าคนลื้อมาก ไม่รู้เพราะอะไรเหมือนกัน เห็นพ่อผมชอบเอาคำว่า สังหวา มาล้อกับเพื่อนแกสมัยผมยังเด็ก พ่อผมเป็นยองสายเชียงใหม่ เพื่อนคนยองของแกก็จะมาแซวคำว่า สังหวา(อย่างว่า) กันตลอดเวลากินเหล้า
นิสัยคนยองจะมีความหยิ่งหน่อย ไม่รู้ว่า คำว่าเมื่อแผ่นดินสีทองผ่องอำไพ คนยองจะเป็นใหญ่ในแผ่นดินใคร เป็นคนคิด คนยองส่วนใหญ่ก็มาจากยุค เก็บผักใส่ซ้า เก็บข้าใส่เมือง ทั้งนั้น
ลื้อ ก็อ้างไต ได๋ ไท้ ไท่ ไท ผู้ไท พวก อาข่า อีก้อ มูเซอ (พวกข่า กระ ) ก็ใส่ชุดดำไม่ต่างกัน คือเข้าใจว่า ทางจีนตอนใต้ ฟิจเจอริ่งกับ แขกอินเดีย แขกชวา เลยได้ความเป็นชาวจีนตอนใต้เป็นส่วนใหญ่
ลื้อหรือ เลอ หรือลือ แค่ชื่อ ก็มีความเป็นภาษาเขมรไต ในตัวแล้ว(ประมาณว่าคนทางใต้เรียกคนทางข้างบนด้วยการออกเสียงแบบนี้) ที่แปลว่าอยู่บน จะตีคู่มากับคำว่า กรอม ขอม ที่แปลว่าใต้หรือคล้ำ
ลื้อเอาเข้าจริงจะมีความเป็นลาว หรือ หล่าว(น่าจะเพี้ยนมาจากคำว่า หนาน) สูง อย่างเช่น คำว่า ข้อย หรือหลายคำ จะบ่งบอก ความเป็นลื้อลาว
ที่น่าจะแบ่งกันมากสุดตั้งแต่อดีตมาปัจจุบัน คือ ดั้งจมูก มีรูปหน้าชัดเจน รองมาก็คือความขาวของผิว ไม่รู้คนยองดูถูกคนลื้อตรงนี้รึเปล่า เพราะคนยองน่าจะผสมมอญบ้างพอสมควร ได้สายแขกน่าจะมีดั้ง
สายลื้อ ผู้ไท ไตเวียด(หนานเย่ว์ อวดนาม เวียดนาม) ก็ขาวโบ๊ะ แต่ดั้งมีไม่มาก เหมือนลาว แต่ลาวน่าจะผสมกับคนทางขอมทางใต้ไปซะมาก
ที่กล่าวมา คือ ไม่รู้ว่า คนสมัยก่อนเอาอะไรเป็นทิฐิ ในการแบ่งพรรคแบ่งพวกกัน ความมีฐิติของมนุษย์บางที่ก็ยากเข้าใจ
ยองกับ ลื้อ ก็คือเผ่าเดียวกัน เก่า เหมือน ลาวกับไท และในอีกหลายเผ่าในความเป็นเย่ว์
นิสัยคนยองมีความเป็นไทยจริงๆ ที่ชอบดูถูกคนลื้อ (ที่สังเกต คือช่วงเวลา ที่คนยองอพยพมาก่อนคนไทลื้อยุคใหม่ และได้แนวคิดจากคนทางภาคกลาง เช่นคนไตยวนในพื้นที่ล้านนา)
คลับคล้ายคลับคลา เหมือนคนทางใต้(สยาม) ดูถูกคนทางเหนืออิสานว่าเป็นลาว
จีนแต้จิ๋ว( จิ๋ว แคระ แคะ ตัวเตี้ย ) ฮากกา ไห่หนาน(หลำ) หนีมาไทยหลายสาเหตุ อดอยาก โดนไล่ฆ่าทางอุดมการณ์ หนีตามญาติพี่น้อง
ก็มาโดนคนทางใต้(สยาม) ดูถูกไม่ต่างกับคนทางภาคเหนือหรืออิสาน แต่จีน(ที่ได้แนวคิดผู้นำแต่ละยุค)มีความเหนียวแน่นทางสังคม สร้างเกาะ(เกราะ)โดยการแยกเหล่าแยกกอ(อาจเพราะคิดว่าตนดีกว่า หรือเพราะโดนดูถูก) สร้างเครือข่ายความเป็นจีนยิ่งใหญ่ในไทย ชนะแนวความคิดเจ้าขุนมูลนายแบบฉบับไทยขอมสยามดั้งเดิมได้
ที่กล่าวมา แค่ต้องการมองว่า การมีฐิถิของเผ่าพันธุ์ กับ การเปิดวัฒธรรมของเผ่าพันธุ์ให้สากล ขึ้น อันไหนจะเป็นประโยชน์มากกว่า กัน หรือสุดท้ายมันอยู่ที่คน คนในอดีตมีฐิถิสูงกว่าในปัจจุบันมาก คนจีนแต้จิ๋วที่หนีมาไทย ก็เพราะความลำบากจึงหนีมา แต่ดันอยากกลับไปเป็นฮั่น(ฮั่นจริงฮั่นปลอมไม่รู้)อีก คงเหมือนกันกับ คนไตใหญ่ ไตลื้อ เขาก็ยังรักความเป็นไทย อยากเป็นคนไทย อยากมาอยู่ไทย อยากมีบัตรคนไทย(ในอดีต) แต่ตอนนี้ดูเหมือนว่าความเป็นจีนจะตอบสมองความต้องการได้มากกว่า เราอยากเป็นโน้นเป็นนี้ เป็นฝรั่งบ้าง แขกบ้าง จีนบ้าง เกาหลีบ้าง ญี่ปุ่นบ้าง เพราะเขาสามารถพัฒนาคนในชาติให้ คนชาติอื่นอยากเกี่ยวดองได้ แล้วไทยในตอนนี้หละใครอยากเป็นบ้าง ผู้นำและทีมงาน พัฒนาคนในชาติได้แค่ไหน มันตอบเลยส่งผลมาถึงปัจจุบัน
ปล. พึ่งสังเกตคำว่า Xishuangbanna ซีจ้วงบ้านนา (สิบสองปันนา ) คนล้านนา ไม่มีหรือไม่นิยม พ. ใช้ในรูปการออกเสียง จึงมีความเป็นไปได้ในคำว่า บ้าน จะมีที่มาจากคำเพี้ยนๆเสียงในคำว่า ปัน(หนึ่งพัน,มากมาย) หรือ ban ซึ่งไม่ใช่ พัน หรือ pan เพราะคนทางเหนือไม่นิยมออกเสียง พ. และคำว่า ว่าบ้านนา เป็นคำนิยมของคนอิสาน และภาคกลางบ้านนอก ในการออกเสียง การปริวัตรทางภาษา แต่ยังคงความเป็น นิรุกติศาสตร์ทางภาษาไว้อยู่ ว่าเป็นคน ปันนา คนบ้านนา บ้านนอก
อีกคำน่าสนใจ คำว่า ยอง ซวง จ้วง สอง ส่วง(สบาย) ที่น่าจะมีความหมายที่ดีในอดีต (ไม่อิงความหมายปัจจุบัน)
ที่น่าสนใจอีก คำว่า แจ้ลื้อ ต้าลี่ แต้จิ๋ว ไท่ลื้อ การออกเสียงคำว่า ไท่ แต้ เต้ ตี้
คนยอง(ลื้อ) ทำไมดูเหมือนจะดูถูกคนลื้อ
ทั้งๆเป็นลื้อเหมือนกัน ต่างกันที่ฝั่งหนึ่งอยู่เมืองเชียงรุ่ง(สิบสองปันนา) อีกฝั่งอยู่เมืองยอง(พม่า) สมัยก่อนมันคืออาณาจักรแจ้ลื้อ(เชอลี่ หรือต้าลี่ ในปัจจุบัน) เหมือนกัน
จากที่ สำนักข่าวมติชนไปสำรวจเมืองยองเมื่อไม่นานมานี้จะเห็นลักษณะนิสัยคนยองคล้ายคนจีน คือ ไม่ค่อยผสมข้ามเผ่า(หรืออาจะผสม) แต่คงนิยมความเป็นชนเผ่ายอง(ลื้อ)ไว้ มอญนี้สืบสาแหรกมาจากทิเบตมองโกลผสมแขกหน่อย ไม่สนใจผสมพันธุ์กันหน่อยเลยหรือ
คนในเมืองยองยังมีความเป็นยองสูง ถามว่าดีไหม ก็ต้องถามชาวไทยภูเขาหรือชาวอาข่า(มาเย่ว์ มาเยอะ เยอะแยะ มากมาย ยิ่งใหญ่ )มันดีไหม คนยองดูจะหยิ่งกว่าคนลื้อมาก ไม่รู้เพราะอะไรเหมือนกัน เห็นพ่อผมชอบเอาคำว่า สังหวา มาล้อกับเพื่อนแกสมัยผมยังเด็ก พ่อผมเป็นยองสายเชียงใหม่ เพื่อนคนยองของแกก็จะมาแซวคำว่า สังหวา(อย่างว่า) กันตลอดเวลากินเหล้า
นิสัยคนยองจะมีความหยิ่งหน่อย ไม่รู้ว่า คำว่าเมื่อแผ่นดินสีทองผ่องอำไพ คนยองจะเป็นใหญ่ในแผ่นดินใคร เป็นคนคิด คนยองส่วนใหญ่ก็มาจากยุค เก็บผักใส่ซ้า เก็บข้าใส่เมือง ทั้งนั้น
ลื้อ ก็อ้างไต ได๋ ไท้ ไท่ ไท ผู้ไท พวก อาข่า อีก้อ มูเซอ (พวกข่า กระ ) ก็ใส่ชุดดำไม่ต่างกัน คือเข้าใจว่า ทางจีนตอนใต้ ฟิจเจอริ่งกับ แขกอินเดีย แขกชวา เลยได้ความเป็นชาวจีนตอนใต้เป็นส่วนใหญ่
ลื้อหรือ เลอ หรือลือ แค่ชื่อ ก็มีความเป็นภาษาเขมรไต ในตัวแล้ว(ประมาณว่าคนทางใต้เรียกคนทางข้างบนด้วยการออกเสียงแบบนี้) ที่แปลว่าอยู่บน จะตีคู่มากับคำว่า กรอม ขอม ที่แปลว่าใต้หรือคล้ำ
ลื้อเอาเข้าจริงจะมีความเป็นลาว หรือ หล่าว(น่าจะเพี้ยนมาจากคำว่า หนาน) สูง อย่างเช่น คำว่า ข้อย หรือหลายคำ จะบ่งบอก ความเป็นลื้อลาว
ที่น่าจะแบ่งกันมากสุดตั้งแต่อดีตมาปัจจุบัน คือ ดั้งจมูก มีรูปหน้าชัดเจน รองมาก็คือความขาวของผิว ไม่รู้คนยองดูถูกคนลื้อตรงนี้รึเปล่า เพราะคนยองน่าจะผสมมอญบ้างพอสมควร ได้สายแขกน่าจะมีดั้ง
สายลื้อ ผู้ไท ไตเวียด(หนานเย่ว์ อวดนาม เวียดนาม) ก็ขาวโบ๊ะ แต่ดั้งมีไม่มาก เหมือนลาว แต่ลาวน่าจะผสมกับคนทางขอมทางใต้ไปซะมาก
ที่กล่าวมา คือ ไม่รู้ว่า คนสมัยก่อนเอาอะไรเป็นทิฐิ ในการแบ่งพรรคแบ่งพวกกัน ความมีฐิติของมนุษย์บางที่ก็ยากเข้าใจ
ยองกับ ลื้อ ก็คือเผ่าเดียวกัน เก่า เหมือน ลาวกับไท และในอีกหลายเผ่าในความเป็นเย่ว์
นิสัยคนยองมีความเป็นไทยจริงๆ ที่ชอบดูถูกคนลื้อ (ที่สังเกต คือช่วงเวลา ที่คนยองอพยพมาก่อนคนไทลื้อยุคใหม่ และได้แนวคิดจากคนทางภาคกลาง เช่นคนไตยวนในพื้นที่ล้านนา)
คลับคล้ายคลับคลา เหมือนคนทางใต้(สยาม) ดูถูกคนทางเหนืออิสานว่าเป็นลาว
จีนแต้จิ๋ว( จิ๋ว แคระ แคะ ตัวเตี้ย ) ฮากกา ไห่หนาน(หลำ) หนีมาไทยหลายสาเหตุ อดอยาก โดนไล่ฆ่าทางอุดมการณ์ หนีตามญาติพี่น้อง
ก็มาโดนคนทางใต้(สยาม) ดูถูกไม่ต่างกับคนทางภาคเหนือหรืออิสาน แต่จีน(ที่ได้แนวคิดผู้นำแต่ละยุค)มีความเหนียวแน่นทางสังคม สร้างเกาะ(เกราะ)โดยการแยกเหล่าแยกกอ(อาจเพราะคิดว่าตนดีกว่า หรือเพราะโดนดูถูก) สร้างเครือข่ายความเป็นจีนยิ่งใหญ่ในไทย ชนะแนวความคิดเจ้าขุนมูลนายแบบฉบับไทยขอมสยามดั้งเดิมได้
ที่กล่าวมา แค่ต้องการมองว่า การมีฐิถิของเผ่าพันธุ์ กับ การเปิดวัฒธรรมของเผ่าพันธุ์ให้สากล ขึ้น อันไหนจะเป็นประโยชน์มากกว่า กัน หรือสุดท้ายมันอยู่ที่คน คนในอดีตมีฐิถิสูงกว่าในปัจจุบันมาก คนจีนแต้จิ๋วที่หนีมาไทย ก็เพราะความลำบากจึงหนีมา แต่ดันอยากกลับไปเป็นฮั่น(ฮั่นจริงฮั่นปลอมไม่รู้)อีก คงเหมือนกันกับ คนไตใหญ่ ไตลื้อ เขาก็ยังรักความเป็นไทย อยากเป็นคนไทย อยากมาอยู่ไทย อยากมีบัตรคนไทย(ในอดีต) แต่ตอนนี้ดูเหมือนว่าความเป็นจีนจะตอบสมองความต้องการได้มากกว่า เราอยากเป็นโน้นเป็นนี้ เป็นฝรั่งบ้าง แขกบ้าง จีนบ้าง เกาหลีบ้าง ญี่ปุ่นบ้าง เพราะเขาสามารถพัฒนาคนในชาติให้ คนชาติอื่นอยากเกี่ยวดองได้ แล้วไทยในตอนนี้หละใครอยากเป็นบ้าง ผู้นำและทีมงาน พัฒนาคนในชาติได้แค่ไหน มันตอบเลยส่งผลมาถึงปัจจุบัน
ปล. พึ่งสังเกตคำว่า Xishuangbanna ซีจ้วงบ้านนา (สิบสองปันนา ) คนล้านนา ไม่มีหรือไม่นิยม พ. ใช้ในรูปการออกเสียง จึงมีความเป็นไปได้ในคำว่า บ้าน จะมีที่มาจากคำเพี้ยนๆเสียงในคำว่า ปัน(หนึ่งพัน,มากมาย) หรือ ban ซึ่งไม่ใช่ พัน หรือ pan เพราะคนทางเหนือไม่นิยมออกเสียง พ. และคำว่า ว่าบ้านนา เป็นคำนิยมของคนอิสาน และภาคกลางบ้านนอก ในการออกเสียง การปริวัตรทางภาษา แต่ยังคงความเป็น นิรุกติศาสตร์ทางภาษาไว้อยู่ ว่าเป็นคน ปันนา คนบ้านนา บ้านนอก
อีกคำน่าสนใจ คำว่า ยอง ซวง จ้วง สอง ส่วง(สบาย) ที่น่าจะมีความหมายที่ดีในอดีต (ไม่อิงความหมายปัจจุบัน)
ที่น่าสนใจอีก คำว่า แจ้ลื้อ ต้าลี่ แต้จิ๋ว ไท่ลื้อ การออกเสียงคำว่า ไท่ แต้ เต้ ตี้