คุณแม่หลายท่านคงสงสัยในใจว่า ลูกน้อยของเราเอาแต่นอนและนอน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเด็กเล็ก ช่วงอายุ 3 เดือนแรก เด็กนอนมากถึง 16-18 ชม ต่อวัน เมื่อพออายุลูกถึง 1ขวบ ลดชั่วโมงการนอน เหลือ 12-13 ชม ต่อ วัน
มีอะไรซ่อนอยู้ในการนอนของลูกเรานะ และอะไรหนอ ทำให้ลูกน้อยนอนได้มากมายขนาดนี้
จากข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ยืนยันแล้วว่า การนอนหลับที่มีคุณภาพเป็นสิ่งสำคัญมีคุณค่าอย่างยิ่งในการเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็ก การนอนถือเป็นช่วงเวลาที่มีคุณค่าต่อการพัฒนาสมองในเด็ก
1. โดยเฉพาะในเด็กอายุน้อยกว่า 2 ปี เพราะสมองมีพัฒนาการเร็วที่สุด โดยขนาดสมองโตถึง 80% ของสมองผู้ใหญ่
2. ช่วงเวลานอน เป็นช่วงที่มีความสำคัญในการเก็บสะสมข้อมูลที่ได้เรียนรู้มาในแต่ละวัน พร้อมเป็นเป็นคลังข้อมูลที่จะเรียกเก็บกลับมาเรียกดู เรียกใช้ในเวลาต่อมา
3. การนอนหลับที่ดีเป็นช่วงเวลาสำคัญเพื่อสุขภาพของสมอง และสุขภาพกาย ตระเตรียมสะสม ลบล้างข้อมูล เพื่อวันใหม่ที่มาถึง
รู้อย่างนี้แล้ว คุณแม่ต้องให้ความสำคัญกับการนอนที่ดี เริ่มตั้งแต่คืนนี้ กันเลยนะคะ
ข้อมูลอ้างอิง:
(1) Born J, Wilhelm I. System consolidation of memory during sleep. Psychological Research (2012) 76:192–203
ผลวิทยาศาตร์ยืนยัน...หลับดี มีโอกาสต่อยอดพัฒนาสมอง
คุณแม่หลายท่านคงสงสัยในใจว่า ลูกน้อยของเราเอาแต่นอนและนอน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเด็กเล็ก ช่วงอายุ 3 เดือนแรก เด็กนอนมากถึง 16-18 ชม ต่อวัน เมื่อพออายุลูกถึง 1ขวบ ลดชั่วโมงการนอน เหลือ 12-13 ชม ต่อ วัน
มีอะไรซ่อนอยู้ในการนอนของลูกเรานะ และอะไรหนอ ทำให้ลูกน้อยนอนได้มากมายขนาดนี้
จากข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ยืนยันแล้วว่า การนอนหลับที่มีคุณภาพเป็นสิ่งสำคัญมีคุณค่าอย่างยิ่งในการเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็ก การนอนถือเป็นช่วงเวลาที่มีคุณค่าต่อการพัฒนาสมองในเด็ก
1. โดยเฉพาะในเด็กอายุน้อยกว่า 2 ปี เพราะสมองมีพัฒนาการเร็วที่สุด โดยขนาดสมองโตถึง 80% ของสมองผู้ใหญ่
2. ช่วงเวลานอน เป็นช่วงที่มีความสำคัญในการเก็บสะสมข้อมูลที่ได้เรียนรู้มาในแต่ละวัน พร้อมเป็นเป็นคลังข้อมูลที่จะเรียกเก็บกลับมาเรียกดู เรียกใช้ในเวลาต่อมา
3. การนอนหลับที่ดีเป็นช่วงเวลาสำคัญเพื่อสุขภาพของสมอง และสุขภาพกาย ตระเตรียมสะสม ลบล้างข้อมูล เพื่อวันใหม่ที่มาถึง
รู้อย่างนี้แล้ว คุณแม่ต้องให้ความสำคัญกับการนอนที่ดี เริ่มตั้งแต่คืนนี้ กันเลยนะคะ
ข้อมูลอ้างอิง:
(1) Born J, Wilhelm I. System consolidation of memory during sleep. Psychological Research (2012) 76:192–203