พบว่า ในผู้ติดชื้อ HIV เพศชายที่ได้รับวิตามินและเกลือแร่เสริมนั้น มีอาการแสดงโรคเอดส์ช้ากว่าผู้ที่ไม่ได้รับวิตามินและเกลือแร่เสริม แต่ในการทดลองในผุ้ที่ได้รับเชื้อหญิงชาวแทนซาเนียที่กำลังตั้งครรภ์และ กำลังให้นมบุตร ไม่พบว่ามีผลใดๆต่ออัตราการติดเชื้อจากแม่ไปสู่ลูก ทั้งระหว่างอยู่ในครรภ์ และ ขณะคลอดหรือจากการให้น้ำนม
ภาวะการขาด ซีลีเนียมนั้นเป็นตัวแปรหนึ่งที่พบว่าเกี่ยวข้องกับอัตราการตายของผู้ติดเชื้อ HIV เป็นอย่างมาก พบว่าผู้ที่ได้รับซีลีเนียมเสริมนั้นจะเป็นโรคติดเชื้อน้อยกว่าผู้ที่ไม่ได้ รับซีลีเนียมเสริม นอกจากนี้ ซีลีเนียมยังช่วยทำให้ระบบการทำงานของหัวใจและลำไส้ดีขึ้น และช่วยกระตุ้นความอยากอาหารด้วย ปริมาณที่ควรได้รับคือ 400 ไมโครกรัมต่อวัน
ภาวะการขาดซีลีเนียมนั้นมักพบในผู้ติดเชื้อ HIVที่มีภาวะหัวใจทำงานผิดปกติร่วมด้วยมากกว่าผู้ติดเชื้อที่มีร่างกายทำงาน ปกติ ซึ่งถ้าได้รับซีลีเนียมเสริมจะช่วยให้หัวใจทำงานดีขึ้นได้ เคยมีรายงานในระดับต้นรายงานว่า ผู้ติดเชื้อ HIV ที่พบว่ามีภาวะหัวใจทำงานบกพร่องและขาดซีลีเนียม ซึ่งได้รับการให้ ซีลีเนียมเพิ่มเป็น800 ไมโครกรัมต่อวันติดกันครึ่งเดือนแล้วตามด้วยวันละ400ไมโครกรัมต่อกันอีกแปด วันจะมีอาการของโรคหัวใจดีขึ้น อย่างไรก็ตาม การทานซีลีเนียมเกิน200ไมโครกรัมต่อวันจะต้องมีการให้แพทย์ติดตามการใช้ยา ด้วย
amino acid, N-acetyl cysteine (NAC), ได้มีการศึกษาพบว่าสามารถยับยั้งการแบ่งตัวของ HIVในหลอดทดลองได้ และมีการทดลองแบบ ดับเบิลไบลนด์ไทรอัลในมนุษย์แล้วพบว่า ผู้ติดเชื้อที่ได้รับ NACวันละ แปดร้อยมิลลิกรัมต่อวันนั้นจะแสดงให้เห็นว่ามีการเสื่อมลงของระบบภูมิคุ้ม กันช้ากว่าผู้ไม่ได้รับ NAC แล้วนอกจากนี้ NAC ยังช่วยส่งเสริมในการสร้างกลูตาไทโอนซึ่งเป็นสารต้านอนุมูลอิสระซึ่งเชื่อ กันว่าจะช่วยปกป้องร่างกายของผู้ติดเชื้อHIVและผู้ป่วยเอดส์ได้
การ ให้ กลูตามีน อาร์จีนีน และ ไฮดรอกซีเมทิลบิวทีเรตซึ่งเป็นอนุพันธ์ของกรดอะมิโนร่วมกันนั้นพบว่า สามารถป้องกันการสูญเสียมวลกล้ามเนื้อของผู้ติดเชื้อได้ ได้มีการทดลองแบบดับเบิลไบลนด์พบว่า ในผู้ป่วยสองกลุ่มที่มีภาวะเดียวกัน กลุ่มนึงได้รับอาหารเสริมกับสารอาหารหลอก อีกกลุ่มหนึ่งได้รับอาหารเสริมกับสารผสม HMB 1.5 g ,l-argenine 7 g และ l-glutamin 7 g พบว่าในกลุ่มแรกนั้นมีน้ำหนักตัวเพิ่มมา 0.37ปอนด์ แต่ว่ามีมวลกล้ามเนื้อลดลง( แสดงว่าที่เพิ่มมาส่วนมากเป็นไขมัน) ส่วนในกลุ่มที่สองที่ได้รับ HMB 1.5 g ,l-argenine 7 g และ l-glutamin 7 g มีน้ำหนักตัวเพิ่มเฉลี่ย 3 ปอนด์และ เป็นน้ำหนักของกล้ามเนื้อ ถึง ประมาณ 2.55 ปอนด์ ( ราวๆ แปดสิบห้าเปอร์เซนต์)
ได้มีการศึกษา ถึงการให้ยีสต์ที่ไม่ก่อให้เกิดโรคชื่อ Saccharomyces boulardii ( รู้จักทั่วไปในชื่อ บริวเออร์ยีสต์) ปริมาณ 1 กรัมวันละสามครั้ง พบว่าสามารถช่วยหยุดอาการท้องเสียในผู้ติดเชื้อ HIV ได้ แต่พบว่า ในผู้ที่มีภาวะภูมิคุ้มกันเสื่อมลงอย่างมากแล้ว อาจทำให้เกิดการติดเชื้อจากยีสต์ในกระแสเลือดได้ ดังนั้นผู้ติดเชื้อที่จะทานยีสต์ ควรปรึกษาแพทย์ก่อนทุกครั้ง
ใน ผู้ติดเชื้อที่มีระดับ dehydroepiandrosterone sulfate (DHEAS) ในเลือดต่ำมักจะมีอาการไม่ค่อยดี ซึ่งเราพบว่า dehydroepiandrosterone sulfate (DHEAS) ในปริมาณสูงนั้นจะช่วยลดความอ่อนเพลียและช่วยลดอาการซึมเศร้าได้ทั้งในผู้ ติดเชื้อเพศชายและเพศหญิง มีการทดลองในผู้ป่วยที่มีภาวะอารมณ์ไม่ดีและอ่อนเพลียโดยให้ dehydroepiandrosterone sulfate (DHEAS) วันละ สองร้อยถึงห้าร้อยมิลลิกรัมต่อวัน เจ็ดสิบสองเปอร์เซ็นต์พบว่า มีอารมณ์ที่ดีขึ้นมาก และแปดสิบเอ็ดเปอร์เซนต์ รู้สึกว่ามีพลังงานมากขึ้น แข็งแรงมากขึ้น แต่ไม่พบว่า DHEAS มีผลใดต่อระดับ CD4 และระดับฮอร์โมนเทสโทสเตอโรนในเลือด
การขาดวิตามินA เป็นอาการที่พบมากในผู้ติดเชื้อ HIV ซึ่งการที่มีระดับวิตามินเอต่ำนั้นจะทำให้มีโอกาสเป็นโรคร้ายแรงต่างๆเพิ่ม ขึ้น ทั้งยังเพิ่มอัตราการเสี่ยงของการติดเชื้อจากแม่สู่ลูกด้วย แต่อย่างไรก็ดี มีรายงานหนึ่งที่พบว่าผู้ติดเชื้อที่ได้รับวิตามินเอ 5000 IU ร่วมกับbetacarotene 50000 IUต่อวันในช่วงตั้งครรภ์ไตรมาสที่สาม(อายุครรภ์สิบสามสัปดาห์) มีอัตราที่ลูกจะติดเชื้อผ่านทางมารดาไม่ต่างกันกับผู้ติดเชื้อที่ไม่ได้ทาน วิตามินเอเสริม
มีงานวิจัยบางรายงานพบว่า การทานวิตามินเอเสริมนั้นจะช่วยลดการดำเนินไปของโรคได้ ในการทดลองหนึ่งในเด็กที่ติดเชื้อHIV โดยให้ทาน วิตามินเอสองแสนIU เป็นเวลาสองวันแล้วให้ Influenza vaccineตาม พบว่ามีอัตราไวรัลโหลดลดลงอย่างมีนัยสำคัญ แต่ก็มีงานวิจัยที่ทดลองให้ทานเฉพาะวิตามินเอขนาดสูง( สามแสนIU) วันละครั้ง พบว่าไม่ได้ช่วยเพิ่มผลของระบบภูมิคุมกันในหญิงที่เข้าร่วมการวิจัยนี้เลย
เบตา แคโรทีนนั้นก็เป็นอีกสารหนึ่งซึ่งพบว่ามีระดับต่ำลงในผู้ติดเชื้อ HIV แม้กระทั่งในผู้ที่ยังไม่มีอาการใดๆ งานวิจัยเกี่ยวกับเบตาแคโรทีนนั้นมีผลออกมาค่อนข้างขัดแย้งกันมีงานวิจัย อยู่สองงานซึ่งศึกษาว่าการให้เตาแคโรทีนวันละสามแสนIUมีผลต่อระดับ CD4หรือไม่ ซึ่งกลุ่มนึงพบว่าช่วยให้ระดับCD4สูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ แต่อีกกลุ่มนึงพบว่าไม่มีผลใดๆต่อระบบภูมิคุ้มกันเลย
ในผู้ติดเชื้อที่ขาดวิตามีนBนั้น พบว่าการให้ vitamin B complexเสริมนั้นจะช่วยทำให้ผู้ติดเชื้อมีอายุยืนขึ้น วิตามิน บีหนึ่ง(ไทอามีน) เป็นวิตามินที่ขาดกันประมาณหนึ่งในสี่ของผู้ติดเชื้อทั้งหมด ซึ่งจะทำให้การทำงานของระบบประสามผิดปกติไป ส่วนวิตามินบีหกซึ่งพบการขาดมากกว่าหนึ่งในสามของผู้ติดเชื้อทั้งหมดนั้นจะ ทำให้ระบบภูมิคุ้มกันเสื่อมลง ในผู้ติดเชื้อที่ได้รับวิตามินบีหกสูงกว่าระดับมาตรฐานมากกว่าสองเท่า( ระดับมาตรฐานเพศชาย=2 mg/day ในหญิง= 1.6 mg/day) พบว่าจะมีอัตราการรอดชีวิตสูงขึ้น
ระดับของโฟลิกแอซิด และวิตามินบีสิบสองก็พบว่ามีระดับต่ำลงในผู้ติดเชื้อHIVทั่วไป
Vitamin C นั้นพบว่า สามารถยับยั้งการแบ่งตัวของเชื้อ HIVได้ในการศึกษาในหลอดทดลอง การได้รับวิตามินซีขนาดสูงนั้นอาจจะช่วยทำให้ผู้ติดเชื้อเป็นโรคเอดส์ช้าลง ซึ่งมีหมอหลายคนได้ให้วิตามินซีขนาดสูงกับผู้ป่วยเอดส์ซึ่งพบว่าวิตามินซี ขนาดสูงนั้นช่วยต้านการติดเชื้อแทรกซ้อนได้เป็นอย่างดี รวมถึงมีการใช้วิตามินซีแบบแผ่นแปะในการรักษาโรคเริมและ Kaposi’s sarcomaในผู้ป่วยเอดส์ด้วย ซึ่งขนาดวิตามินซีที่ใช้นั้นจะต่างกันไป อยู่จั้งแต่ 40-185 กรัมต่อวัน ซึ่งการได้รับวิตามินซีสูงขนาดนี้จะต้องได้รับการเฝ้าระวังจากแพทย์ด้วย
จาก การศึกษาในหลอดทดลองพบว่า วิตามินE มีผลในการช่วยเพิ่มประสิทธิภาพของยาต้านไวรัส AZT โดยช่วยลดความเป็นพิษของยานี้ลง และมีการทดลองในสัตว์พบว่าการได้รับ สังกะสี และ NAC ช่วยลดความเป็นพิษของAZTได้เช่นกัน แต่ยังไม่มีการศึกษาในมนุษย์
Coenzyme Q10 ก็เป็นอีกสารหนึ่งที่พบว่ามีระดับต่ำลงในผู้ติดเชื้อHIV มีการทดลองเล็กๆชิ้นหนึ่งพบว่า แปดสิบสาม%ของผู้ป่วยที่ได้รับ coQ10 200mg ต่อวันนั้นไม่มีการติดเชื้อแทรกซ้อนมากกว่าเจ็ดเดือนขึ้นไป และมีสามรายที่มีระดับเม็ดเลือดขาวสูงขึ้น
ขอขอบคุณข้อมูลจาก HIVLIVEPLUS
Report : LIV APCO
การเสริมวิตามินและแร่ธาตุสำหรับผู้ติดเชื้อ HIV
ภาวะการขาด ซีลีเนียมนั้นเป็นตัวแปรหนึ่งที่พบว่าเกี่ยวข้องกับอัตราการตายของผู้ติดเชื้อ HIV เป็นอย่างมาก พบว่าผู้ที่ได้รับซีลีเนียมเสริมนั้นจะเป็นโรคติดเชื้อน้อยกว่าผู้ที่ไม่ได้ รับซีลีเนียมเสริม นอกจากนี้ ซีลีเนียมยังช่วยทำให้ระบบการทำงานของหัวใจและลำไส้ดีขึ้น และช่วยกระตุ้นความอยากอาหารด้วย ปริมาณที่ควรได้รับคือ 400 ไมโครกรัมต่อวัน
ภาวะการขาดซีลีเนียมนั้นมักพบในผู้ติดเชื้อ HIVที่มีภาวะหัวใจทำงานผิดปกติร่วมด้วยมากกว่าผู้ติดเชื้อที่มีร่างกายทำงาน ปกติ ซึ่งถ้าได้รับซีลีเนียมเสริมจะช่วยให้หัวใจทำงานดีขึ้นได้ เคยมีรายงานในระดับต้นรายงานว่า ผู้ติดเชื้อ HIV ที่พบว่ามีภาวะหัวใจทำงานบกพร่องและขาดซีลีเนียม ซึ่งได้รับการให้ ซีลีเนียมเพิ่มเป็น800 ไมโครกรัมต่อวันติดกันครึ่งเดือนแล้วตามด้วยวันละ400ไมโครกรัมต่อกันอีกแปด วันจะมีอาการของโรคหัวใจดีขึ้น อย่างไรก็ตาม การทานซีลีเนียมเกิน200ไมโครกรัมต่อวันจะต้องมีการให้แพทย์ติดตามการใช้ยา ด้วย
amino acid, N-acetyl cysteine (NAC), ได้มีการศึกษาพบว่าสามารถยับยั้งการแบ่งตัวของ HIVในหลอดทดลองได้ และมีการทดลองแบบ ดับเบิลไบลนด์ไทรอัลในมนุษย์แล้วพบว่า ผู้ติดเชื้อที่ได้รับ NACวันละ แปดร้อยมิลลิกรัมต่อวันนั้นจะแสดงให้เห็นว่ามีการเสื่อมลงของระบบภูมิคุ้ม กันช้ากว่าผู้ไม่ได้รับ NAC แล้วนอกจากนี้ NAC ยังช่วยส่งเสริมในการสร้างกลูตาไทโอนซึ่งเป็นสารต้านอนุมูลอิสระซึ่งเชื่อ กันว่าจะช่วยปกป้องร่างกายของผู้ติดเชื้อHIVและผู้ป่วยเอดส์ได้
การ ให้ กลูตามีน อาร์จีนีน และ ไฮดรอกซีเมทิลบิวทีเรตซึ่งเป็นอนุพันธ์ของกรดอะมิโนร่วมกันนั้นพบว่า สามารถป้องกันการสูญเสียมวลกล้ามเนื้อของผู้ติดเชื้อได้ ได้มีการทดลองแบบดับเบิลไบลนด์พบว่า ในผู้ป่วยสองกลุ่มที่มีภาวะเดียวกัน กลุ่มนึงได้รับอาหารเสริมกับสารอาหารหลอก อีกกลุ่มหนึ่งได้รับอาหารเสริมกับสารผสม HMB 1.5 g ,l-argenine 7 g และ l-glutamin 7 g พบว่าในกลุ่มแรกนั้นมีน้ำหนักตัวเพิ่มมา 0.37ปอนด์ แต่ว่ามีมวลกล้ามเนื้อลดลง( แสดงว่าที่เพิ่มมาส่วนมากเป็นไขมัน) ส่วนในกลุ่มที่สองที่ได้รับ HMB 1.5 g ,l-argenine 7 g และ l-glutamin 7 g มีน้ำหนักตัวเพิ่มเฉลี่ย 3 ปอนด์และ เป็นน้ำหนักของกล้ามเนื้อ ถึง ประมาณ 2.55 ปอนด์ ( ราวๆ แปดสิบห้าเปอร์เซนต์)
ได้มีการศึกษา ถึงการให้ยีสต์ที่ไม่ก่อให้เกิดโรคชื่อ Saccharomyces boulardii ( รู้จักทั่วไปในชื่อ บริวเออร์ยีสต์) ปริมาณ 1 กรัมวันละสามครั้ง พบว่าสามารถช่วยหยุดอาการท้องเสียในผู้ติดเชื้อ HIV ได้ แต่พบว่า ในผู้ที่มีภาวะภูมิคุ้มกันเสื่อมลงอย่างมากแล้ว อาจทำให้เกิดการติดเชื้อจากยีสต์ในกระแสเลือดได้ ดังนั้นผู้ติดเชื้อที่จะทานยีสต์ ควรปรึกษาแพทย์ก่อนทุกครั้ง
ใน ผู้ติดเชื้อที่มีระดับ dehydroepiandrosterone sulfate (DHEAS) ในเลือดต่ำมักจะมีอาการไม่ค่อยดี ซึ่งเราพบว่า dehydroepiandrosterone sulfate (DHEAS) ในปริมาณสูงนั้นจะช่วยลดความอ่อนเพลียและช่วยลดอาการซึมเศร้าได้ทั้งในผู้ ติดเชื้อเพศชายและเพศหญิง มีการทดลองในผู้ป่วยที่มีภาวะอารมณ์ไม่ดีและอ่อนเพลียโดยให้ dehydroepiandrosterone sulfate (DHEAS) วันละ สองร้อยถึงห้าร้อยมิลลิกรัมต่อวัน เจ็ดสิบสองเปอร์เซ็นต์พบว่า มีอารมณ์ที่ดีขึ้นมาก และแปดสิบเอ็ดเปอร์เซนต์ รู้สึกว่ามีพลังงานมากขึ้น แข็งแรงมากขึ้น แต่ไม่พบว่า DHEAS มีผลใดต่อระดับ CD4 และระดับฮอร์โมนเทสโทสเตอโรนในเลือด
การขาดวิตามินA เป็นอาการที่พบมากในผู้ติดเชื้อ HIV ซึ่งการที่มีระดับวิตามินเอต่ำนั้นจะทำให้มีโอกาสเป็นโรคร้ายแรงต่างๆเพิ่ม ขึ้น ทั้งยังเพิ่มอัตราการเสี่ยงของการติดเชื้อจากแม่สู่ลูกด้วย แต่อย่างไรก็ดี มีรายงานหนึ่งที่พบว่าผู้ติดเชื้อที่ได้รับวิตามินเอ 5000 IU ร่วมกับbetacarotene 50000 IUต่อวันในช่วงตั้งครรภ์ไตรมาสที่สาม(อายุครรภ์สิบสามสัปดาห์) มีอัตราที่ลูกจะติดเชื้อผ่านทางมารดาไม่ต่างกันกับผู้ติดเชื้อที่ไม่ได้ทาน วิตามินเอเสริม
มีงานวิจัยบางรายงานพบว่า การทานวิตามินเอเสริมนั้นจะช่วยลดการดำเนินไปของโรคได้ ในการทดลองหนึ่งในเด็กที่ติดเชื้อHIV โดยให้ทาน วิตามินเอสองแสนIU เป็นเวลาสองวันแล้วให้ Influenza vaccineตาม พบว่ามีอัตราไวรัลโหลดลดลงอย่างมีนัยสำคัญ แต่ก็มีงานวิจัยที่ทดลองให้ทานเฉพาะวิตามินเอขนาดสูง( สามแสนIU) วันละครั้ง พบว่าไม่ได้ช่วยเพิ่มผลของระบบภูมิคุมกันในหญิงที่เข้าร่วมการวิจัยนี้เลย
เบตา แคโรทีนนั้นก็เป็นอีกสารหนึ่งซึ่งพบว่ามีระดับต่ำลงในผู้ติดเชื้อ HIV แม้กระทั่งในผู้ที่ยังไม่มีอาการใดๆ งานวิจัยเกี่ยวกับเบตาแคโรทีนนั้นมีผลออกมาค่อนข้างขัดแย้งกันมีงานวิจัย อยู่สองงานซึ่งศึกษาว่าการให้เตาแคโรทีนวันละสามแสนIUมีผลต่อระดับ CD4หรือไม่ ซึ่งกลุ่มนึงพบว่าช่วยให้ระดับCD4สูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ แต่อีกกลุ่มนึงพบว่าไม่มีผลใดๆต่อระบบภูมิคุ้มกันเลย
ในผู้ติดเชื้อที่ขาดวิตามีนBนั้น พบว่าการให้ vitamin B complexเสริมนั้นจะช่วยทำให้ผู้ติดเชื้อมีอายุยืนขึ้น วิตามิน บีหนึ่ง(ไทอามีน) เป็นวิตามินที่ขาดกันประมาณหนึ่งในสี่ของผู้ติดเชื้อทั้งหมด ซึ่งจะทำให้การทำงานของระบบประสามผิดปกติไป ส่วนวิตามินบีหกซึ่งพบการขาดมากกว่าหนึ่งในสามของผู้ติดเชื้อทั้งหมดนั้นจะ ทำให้ระบบภูมิคุ้มกันเสื่อมลง ในผู้ติดเชื้อที่ได้รับวิตามินบีหกสูงกว่าระดับมาตรฐานมากกว่าสองเท่า( ระดับมาตรฐานเพศชาย=2 mg/day ในหญิง= 1.6 mg/day) พบว่าจะมีอัตราการรอดชีวิตสูงขึ้น
ระดับของโฟลิกแอซิด และวิตามินบีสิบสองก็พบว่ามีระดับต่ำลงในผู้ติดเชื้อHIVทั่วไป
Vitamin C นั้นพบว่า สามารถยับยั้งการแบ่งตัวของเชื้อ HIVได้ในการศึกษาในหลอดทดลอง การได้รับวิตามินซีขนาดสูงนั้นอาจจะช่วยทำให้ผู้ติดเชื้อเป็นโรคเอดส์ช้าลง ซึ่งมีหมอหลายคนได้ให้วิตามินซีขนาดสูงกับผู้ป่วยเอดส์ซึ่งพบว่าวิตามินซี ขนาดสูงนั้นช่วยต้านการติดเชื้อแทรกซ้อนได้เป็นอย่างดี รวมถึงมีการใช้วิตามินซีแบบแผ่นแปะในการรักษาโรคเริมและ Kaposi’s sarcomaในผู้ป่วยเอดส์ด้วย ซึ่งขนาดวิตามินซีที่ใช้นั้นจะต่างกันไป อยู่จั้งแต่ 40-185 กรัมต่อวัน ซึ่งการได้รับวิตามินซีสูงขนาดนี้จะต้องได้รับการเฝ้าระวังจากแพทย์ด้วย
จาก การศึกษาในหลอดทดลองพบว่า วิตามินE มีผลในการช่วยเพิ่มประสิทธิภาพของยาต้านไวรัส AZT โดยช่วยลดความเป็นพิษของยานี้ลง และมีการทดลองในสัตว์พบว่าการได้รับ สังกะสี และ NAC ช่วยลดความเป็นพิษของAZTได้เช่นกัน แต่ยังไม่มีการศึกษาในมนุษย์
Coenzyme Q10 ก็เป็นอีกสารหนึ่งที่พบว่ามีระดับต่ำลงในผู้ติดเชื้อHIV มีการทดลองเล็กๆชิ้นหนึ่งพบว่า แปดสิบสาม%ของผู้ป่วยที่ได้รับ coQ10 200mg ต่อวันนั้นไม่มีการติดเชื้อแทรกซ้อนมากกว่าเจ็ดเดือนขึ้นไป และมีสามรายที่มีระดับเม็ดเลือดขาวสูงขึ้น
ขอขอบคุณข้อมูลจาก HIVLIVEPLUS
Report : LIV APCO