สุดยอดความคิดเห็น
ความคิดเห็นที่ 2
หลักการทำงานของเครื่องวัดความดันโลหิต คือ จะใช้หลักการสร้างแรงกดที่หลอดเลือดแดงครับ
เมื่อจะเริ่มการวัด ก็จะต้องบีบลูกบีบให้แผ่นผ้าไปรัดแขนจน กด หลอดเลือดแดงจน Closing และเริ่มคลายลมออก
จนแผ่นผ้าคลายตัวลดแรงกดลง และหลอดเลือดแดงเริ่มมีการ Opening - Closing จาก ความดันโลหิต ที่สูบออกจากหัวใจ
โดยระหว่างที่คลายลมออกไปเรื่อย ๆ นั้น จุดแรกสุดที่ ได้ยิน เสียงหลอดเลือด Opening - Closing คือค่าความดัน Systolic (ตัวบน)
ซึ่ง ณ จุดนี้ ปรอทจะขยับขึ้นลงจากการ Opening - Closing ของหลอดเลือดด้วย และต่อมา เมื่อคลายผ้าที่รัดใว้ไปเรื่อย ๆ
หลอดเลือดจะ Open ตลอดเวลา ทำให้ปรอทไม่ขยับ และ เสียงจะเงียบ ลงไปด้วย ซึ่งจุดนี้คือความดัน Diastolic (ตัวล่าง) ครับ
หากเป็นเครื่องวัดระบบ Digital ก็จะใช้หลักการข้างบนทุกอย่างครับ แต่ที่แผ่นผ้ารัดแขนจะมี Microphone อยู่ด้วย
ซึ่งเราจะต้องแนบ Mic ให้พอดีกับแนวหลอดเลือดแดง โดยเครื่องจะทำงานอัตโนมัติโดย Pump ลมเข้าแผ่นผ้ารัดแขน
จน Mic ไม่สามารถจับเสียง Opening - Closing ของหลอดเลือดได้ จึงหยุด pump ....... หลังจากนั้น solenoid ก็จะเริ่ม
ปล่อยลมออกทีละน้อย ..... จน Mic เริ่มจับเสียง Opening - Closing ของหลอดเลือดได้เป็นเสียงแรก จึงบันทึกค่า pressure ของลมในระบบ
ไปเป็นค่าความดัน Systolic (ตัวบน) ...... ขณะเดียวกัน solenoid ก็คลายลมไปเรื่อย ๆ จนกระทั่ง Mic จับเสียง Opening - Closing
สุดท้ายได้ (เสียงเงียบ) และบันทึก pressure ไปเป็นความดัน Diastolic (ตัวล่าง)
และสุดท้าย ก็จะปล่อยลมออกจนหมด แล้วรายงานค่าความดันโลหิตทั้ง 2 ค่าออกมา
ส่วนค่า Heart rate (อัตราเต้นหัวใจ) เครื่องก็คำนวณง่าย ๆ โดยการเอา ความถี่ ของเสียง Opening - Closing ของหลอดเลือด
ไปแสดงผลเป็นค่า Heart rate ในหน่วย ครั้ง/นาที ครับ
เมื่อจะเริ่มการวัด ก็จะต้องบีบลูกบีบให้แผ่นผ้าไปรัดแขนจน กด หลอดเลือดแดงจน Closing และเริ่มคลายลมออก
จนแผ่นผ้าคลายตัวลดแรงกดลง และหลอดเลือดแดงเริ่มมีการ Opening - Closing จาก ความดันโลหิต ที่สูบออกจากหัวใจ
โดยระหว่างที่คลายลมออกไปเรื่อย ๆ นั้น จุดแรกสุดที่ ได้ยิน เสียงหลอดเลือด Opening - Closing คือค่าความดัน Systolic (ตัวบน)
ซึ่ง ณ จุดนี้ ปรอทจะขยับขึ้นลงจากการ Opening - Closing ของหลอดเลือดด้วย และต่อมา เมื่อคลายผ้าที่รัดใว้ไปเรื่อย ๆ
หลอดเลือดจะ Open ตลอดเวลา ทำให้ปรอทไม่ขยับ และ เสียงจะเงียบ ลงไปด้วย ซึ่งจุดนี้คือความดัน Diastolic (ตัวล่าง) ครับ
หากเป็นเครื่องวัดระบบ Digital ก็จะใช้หลักการข้างบนทุกอย่างครับ แต่ที่แผ่นผ้ารัดแขนจะมี Microphone อยู่ด้วย
ซึ่งเราจะต้องแนบ Mic ให้พอดีกับแนวหลอดเลือดแดง โดยเครื่องจะทำงานอัตโนมัติโดย Pump ลมเข้าแผ่นผ้ารัดแขน
จน Mic ไม่สามารถจับเสียง Opening - Closing ของหลอดเลือดได้ จึงหยุด pump ....... หลังจากนั้น solenoid ก็จะเริ่ม
ปล่อยลมออกทีละน้อย ..... จน Mic เริ่มจับเสียง Opening - Closing ของหลอดเลือดได้เป็นเสียงแรก จึงบันทึกค่า pressure ของลมในระบบ
ไปเป็นค่าความดัน Systolic (ตัวบน) ...... ขณะเดียวกัน solenoid ก็คลายลมไปเรื่อย ๆ จนกระทั่ง Mic จับเสียง Opening - Closing
สุดท้ายได้ (เสียงเงียบ) และบันทึก pressure ไปเป็นความดัน Diastolic (ตัวล่าง)
และสุดท้าย ก็จะปล่อยลมออกจนหมด แล้วรายงานค่าความดันโลหิตทั้ง 2 ค่าออกมา
ส่วนค่า Heart rate (อัตราเต้นหัวใจ) เครื่องก็คำนวณง่าย ๆ โดยการเอา ความถี่ ของเสียง Opening - Closing ของหลอดเลือด
ไปแสดงผลเป็นค่า Heart rate ในหน่วย ครั้ง/นาที ครับ
แสดงความคิดเห็น
หลักการทำงานของ"เครื่องวัดความดันโลหิต"คือยังไงหรอครับ?
ว่าเครื่องวัดความดันเรายังไง วัดจากอะไร สัมพันธ์ยังไงกับอัตราการเต้นชีพจร
ช่วยตอบหน่อยนะครับ ขอบคุณครับ