JAS ชุดที่ 1 คลื่น 895-905 MHz คู่กับ 940-950 MHz (10 MHz) มูลค่าการประมูล
75,654 ล้านบาท
TRUE ชุดที่ 2 คลื่น 905-915 MHz คู่กับคลื่น 950-960 MHz (10 MHz) มูลค่าการประมูล
76,298 ล้านบาท
อายุใบอนุญาต 15 ปี
เมื่อเทียบกับระบบสัมปทานเดิม
คลื่น 900 ที่ความกว้าง
(17.5 Mhz)จ่ายสัมปทานให้ TOT ตามผลประกอบการที่ 20% ต่อ ปี
นั้นคือ AIS มีรายได้เข้ามาเท่าไหร่ แบ่งจ่ายไป 20% ให้ TOT (มีมาก จ่ายมาก, มีน้อย จ่ายน้อย ขึ้นลงตามผลประกอบการ)
ทรู เคยบอก แพงเกินไป
โดยระบุว่าราคาดังกล่าวสูงเกินไป และเห็นว่าราคาที่เหมาะสมควรจะอยู่ที่ 7,000 ล้านบาท โดยอ้างเป็นผลศึกษาเปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆ อาทิ โปรตุเกส ไต้หวัน และฝรั่งเศส แต่กลับเป็นเรื่องน่าแปลก วันนี้ฝ่ายบริหารทรู กลับออกมาแก้ต่างว่าราคาที่ประมูลไปนั้นเหมาะสม ทั้งที่ขัดแย้งกับข้อทักท้วงที่บริษัทยื่นต่อ กสทช.เอง
หลังประมูล 'ทรู'โวประมูลคลื่น'ไม่แพง' แลกกับ'โอกาสและอนาคต'
„"ทรู" ยันประมูลคลื่น 900MHz ราคา 7.6 หมื่นล้านบาท ไม่แพงสำหรับโอกาสและอนาคต ช่วยลดการลงทุนทำโครงข่ายได้ 4.5 หมื่นล้าน เตรียมงบไว้อีก 5.5 หมื่นล้านใน 3 ปี หวังเพิ่มส่วนแบ่งตลาด“
ล่าสุด ยังหาแบงค์การันตี
“ทรู-แจส” ไม่ได้มาชำระเงินค่าประมูล 4G งวดแรกให้ กสทช. “หมอลี่” บอกยังอยู่ในกำหนดระยะเวลาชำระเงิน ยังเหลือเวลาอีก 75 วัน
แจส ยื่นกับ BBL ส่วน TRUE น่าจะขอหลายแบงค์
ไม่จ่าย ยึดเงินประกัน ตัดสิทธิประมูลคลื่นอื่นๆ
ถ้าไม่มาตามกำหนด ยึดเงินประกันจำนวน 5% ของราคาเริ่มต้นการประมูลที่ 13,000 ล้านบาท หรือราว 600 ล้านบาท และผู้ชนะการประมูลจะไม่สามารถเข้าร่วมประมูลในคลี่นความถี่อื่นๆ ได้
หรือยัง รอดู ใครจ่ายก่อน
ถ้า JAS ไม่เข้ามาจ่าย ไม่ว่าด้วยเหตุผลอะไร จะต้องประมูลใหม่ ในช่วงคลื่นของ JAS เอง
ซึ่ง TRUE ก็น่าจะไม่จ่าย ด้วยต้นทุนมูลค่าคลื่นจะสูงกว่า 76,000
ตาราง ต้นทุน ค่าสัมปทาน และใบอนุญา คลื่นความถี่
ราคาเฉลี่ย ต่อ 1 MHz
JAS = 7,565.4 ล้านบาท
TRUE = 2901.6 ล้านบาท
AIS = 1,902.4 ล้านบาท
DTAC = 990 ล้านบาท
ราคาเฉลี่ย ต้นทุนค่าคลื่น ต่อ ลูกค้า 1 ราย
TRUE = 520 บาท/ปี
DTAC = 516 บาท/ปี
AIS = 165 บาท/ปี
คลื่น 900 10MHz ราคา 76,298 ล้านบาท คุณคิดว่าราคาเหมาะสมแล้วหรือไม่ ?
TRUE ชุดที่ 2 คลื่น 905-915 MHz คู่กับคลื่น 950-960 MHz (10 MHz) มูลค่าการประมูล 76,298 ล้านบาท
อายุใบอนุญาต 15 ปี
เมื่อเทียบกับระบบสัมปทานเดิม
คลื่น 900 ที่ความกว้าง (17.5 Mhz)จ่ายสัมปทานให้ TOT ตามผลประกอบการที่ 20% ต่อ ปี
นั้นคือ AIS มีรายได้เข้ามาเท่าไหร่ แบ่งจ่ายไป 20% ให้ TOT (มีมาก จ่ายมาก, มีน้อย จ่ายน้อย ขึ้นลงตามผลประกอบการ)
ทรู เคยบอก แพงเกินไป
โดยระบุว่าราคาดังกล่าวสูงเกินไป และเห็นว่าราคาที่เหมาะสมควรจะอยู่ที่ 7,000 ล้านบาท โดยอ้างเป็นผลศึกษาเปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆ อาทิ โปรตุเกส ไต้หวัน และฝรั่งเศส แต่กลับเป็นเรื่องน่าแปลก วันนี้ฝ่ายบริหารทรู กลับออกมาแก้ต่างว่าราคาที่ประมูลไปนั้นเหมาะสม ทั้งที่ขัดแย้งกับข้อทักท้วงที่บริษัทยื่นต่อ กสทช.เอง
หลังประมูล 'ทรู'โวประมูลคลื่น'ไม่แพง' แลกกับ'โอกาสและอนาคต'
„"ทรู" ยันประมูลคลื่น 900MHz ราคา 7.6 หมื่นล้านบาท ไม่แพงสำหรับโอกาสและอนาคต ช่วยลดการลงทุนทำโครงข่ายได้ 4.5 หมื่นล้าน เตรียมงบไว้อีก 5.5 หมื่นล้านใน 3 ปี หวังเพิ่มส่วนแบ่งตลาด“
ล่าสุด ยังหาแบงค์การันตี
“ทรู-แจส” ไม่ได้มาชำระเงินค่าประมูล 4G งวดแรกให้ กสทช. “หมอลี่” บอกยังอยู่ในกำหนดระยะเวลาชำระเงิน ยังเหลือเวลาอีก 75 วัน
แจส ยื่นกับ BBL ส่วน TRUE น่าจะขอหลายแบงค์
ไม่จ่าย ยึดเงินประกัน ตัดสิทธิประมูลคลื่นอื่นๆ
ถ้าไม่มาตามกำหนด ยึดเงินประกันจำนวน 5% ของราคาเริ่มต้นการประมูลที่ 13,000 ล้านบาท หรือราว 600 ล้านบาท และผู้ชนะการประมูลจะไม่สามารถเข้าร่วมประมูลในคลี่นความถี่อื่นๆ ได้
หรือยัง รอดู ใครจ่ายก่อน
ถ้า JAS ไม่เข้ามาจ่าย ไม่ว่าด้วยเหตุผลอะไร จะต้องประมูลใหม่ ในช่วงคลื่นของ JAS เอง
ซึ่ง TRUE ก็น่าจะไม่จ่าย ด้วยต้นทุนมูลค่าคลื่นจะสูงกว่า 76,000
ตาราง ต้นทุน ค่าสัมปทาน และใบอนุญา คลื่นความถี่
ราคาเฉลี่ย ต่อ 1 MHz
JAS = 7,565.4 ล้านบาท
TRUE = 2901.6 ล้านบาท
AIS = 1,902.4 ล้านบาท
DTAC = 990 ล้านบาท
ราคาเฉลี่ย ต้นทุนค่าคลื่น ต่อ ลูกค้า 1 ราย
TRUE = 520 บาท/ปี
DTAC = 516 บาท/ปี
AIS = 165 บาท/ปี