ถ้าได้คลื่น 2600 มา 60 MHz จาก อ.ส.ม.ท. โอกาสที่จะทำให้คลื่น 2600 มีมูลค่าสูงขึ้น มีค่ายต่างๆต้องการมากขึ้น ก็คือ ให้นำคลื่น 1800 ทั้ง 45 MHz ของ dtac-cat ที่จะหมดสัมปทานในปลายปี 61 มาประมูลล่วงหน้าและจัดประมูลก่อนคลื่น 2600
เพราะว่าในกรณีประมูล 1800 ล่วงหน้า ผู้ที่มีโอกาสชนะการประมูลน่าจะเป็น ais,dtac,my เพราะมีภาระทางการเงินเบากว่า true และ jas มาก
สมมติว่าถ้าได้เงื่อนไขตามนี้
ais ชนะประมูลได้คลื่น 1800 ส่วนติดกับ dtac ได้ 1 ใบอนุญาต 15 mhz เมื่อถึงช่วงเวลาหมดสัมปทานปลายปี 61 ของ dtac-cat
ais 4G 1800 กว้าง 30 MHz เร็วไม่เกิน 225 Mbps
และ dtac และ cat ชนะการประมูลเจ้าละ 1 ใบอนุญาต
dtac 4G 1800 กว้าง 15 mhz เร็วไม่เกิน 112.5 Mbps
cat 4G 1800 กว้าง 15 MHz เร็วไม่เกิน 112.5
โดยที่ dtac และ cat เลือกช่วงคลื่นที่ติดกันรวมเป็น 30 MHz เพราะทั้ง 2 เจ้ามีแผนจะทำธุรกิจร่วมกันตั้งแต่ปีนี้อยู่แล้ว
เมื่อคลื่น 1800 ทั้งหมด 45 MHz ของ dtac-cat จะเหลือรวมกันแค่ 30 MHz หลังหมดสัมปทานในปลายปี 61
ตรงจุดนี้ก็ทำให้เกิดความจำเป็นที่ทำให้ dtac และ cat ต้องไปเอาคลื่น 2600 มาเพิ่มเติมเพื่อรองรับผู้ใช้บริการระยะยาว
โดยที่ทั้ง 2 เจ้านี้ไปเอาคลื่น 2600 เจ้าละ 1 ใบอนุญาต อาจจะเป็นช่วงคลื่นที่ติดกันก็ได้ ก็ส่งผลให้เสร็จไป 2 ใบอนุญาต
ส่วนใบอนุญาตที่ 3 ตัวเต็งคือ jas เพราะตอนนี้มีแต่คลื่น 900 เพียงคลื่นเดียว ถ้าหากธุรกิจไปได้ดี ต้องไปเอาคลื่น 2600 มาเพิ่มแน่นอน
ถ้าประมูล 1800 ล่วงหน้า แล้วผู้ชนะคือ ais,dtac,my ตัวเต็งในคลื่น 2600 ก็คงจะเป็น jas,dtac,my
ราคาที่ได้จากการประมูลคลื่น 2600 ควรจะอยู่ที่ราคา 25,000-30,000 ล้านบาทเพราะเป็นคลื่นความถี่สูง ต้องลงทุนมาก ตั้งเสาเยอะ
และเมื่อประมูลเรียบร้อยแล้ว ก็ควรจะแบ่งเงิน 15% ของรายได้ใบอนุญาตให้ทาง อ.ส.ม.ท. เช่น 3 ใบอนุญาต
ราคาใบละ 25,000 ล้านบาท แบ่งใบละ 15% เท่ากับ 3,750 ล้านบาท รวม 3 ใบก็จ่ายให้ อ.ส.ม.ท. 11,250 ล้านบาท เป็นต้น
ถ้าได้ตามนี้ภาครัฐและเอกชนก็น่าจะได้เงินก้อนใหญ่จากการประมูลคลื่น 2600 แน่นอน
ถ้าประมูล 1800 ล่วงหน้าก่อนประมูล 2600 คงจะทำให้คลื่น 2600 มีมูลค่าสูงขึ้น
เพราะว่าในกรณีประมูล 1800 ล่วงหน้า ผู้ที่มีโอกาสชนะการประมูลน่าจะเป็น ais,dtac,my เพราะมีภาระทางการเงินเบากว่า true และ jas มาก
สมมติว่าถ้าได้เงื่อนไขตามนี้
ais ชนะประมูลได้คลื่น 1800 ส่วนติดกับ dtac ได้ 1 ใบอนุญาต 15 mhz เมื่อถึงช่วงเวลาหมดสัมปทานปลายปี 61 ของ dtac-cat
ais 4G 1800 กว้าง 30 MHz เร็วไม่เกิน 225 Mbps
และ dtac และ cat ชนะการประมูลเจ้าละ 1 ใบอนุญาต
dtac 4G 1800 กว้าง 15 mhz เร็วไม่เกิน 112.5 Mbps
cat 4G 1800 กว้าง 15 MHz เร็วไม่เกิน 112.5
โดยที่ dtac และ cat เลือกช่วงคลื่นที่ติดกันรวมเป็น 30 MHz เพราะทั้ง 2 เจ้ามีแผนจะทำธุรกิจร่วมกันตั้งแต่ปีนี้อยู่แล้ว
เมื่อคลื่น 1800 ทั้งหมด 45 MHz ของ dtac-cat จะเหลือรวมกันแค่ 30 MHz หลังหมดสัมปทานในปลายปี 61
ตรงจุดนี้ก็ทำให้เกิดความจำเป็นที่ทำให้ dtac และ cat ต้องไปเอาคลื่น 2600 มาเพิ่มเติมเพื่อรองรับผู้ใช้บริการระยะยาว
โดยที่ทั้ง 2 เจ้านี้ไปเอาคลื่น 2600 เจ้าละ 1 ใบอนุญาต อาจจะเป็นช่วงคลื่นที่ติดกันก็ได้ ก็ส่งผลให้เสร็จไป 2 ใบอนุญาต
ส่วนใบอนุญาตที่ 3 ตัวเต็งคือ jas เพราะตอนนี้มีแต่คลื่น 900 เพียงคลื่นเดียว ถ้าหากธุรกิจไปได้ดี ต้องไปเอาคลื่น 2600 มาเพิ่มแน่นอน
ถ้าประมูล 1800 ล่วงหน้า แล้วผู้ชนะคือ ais,dtac,my ตัวเต็งในคลื่น 2600 ก็คงจะเป็น jas,dtac,my
ราคาที่ได้จากการประมูลคลื่น 2600 ควรจะอยู่ที่ราคา 25,000-30,000 ล้านบาทเพราะเป็นคลื่นความถี่สูง ต้องลงทุนมาก ตั้งเสาเยอะ
และเมื่อประมูลเรียบร้อยแล้ว ก็ควรจะแบ่งเงิน 15% ของรายได้ใบอนุญาตให้ทาง อ.ส.ม.ท. เช่น 3 ใบอนุญาต
ราคาใบละ 25,000 ล้านบาท แบ่งใบละ 15% เท่ากับ 3,750 ล้านบาท รวม 3 ใบก็จ่ายให้ อ.ส.ม.ท. 11,250 ล้านบาท เป็นต้น
ถ้าได้ตามนี้ภาครัฐและเอกชนก็น่าจะได้เงินก้อนใหญ่จากการประมูลคลื่น 2600 แน่นอน