๑.) ในขั้นแจ้งโทษเอาผิด จะบังเกิดมูลคดีเบื้องต้นก็ด้วยบันทึก พยานปาก ของผู้พบเห็น (พยาน หรือเจ้าทุกข์)
๒.) ในการยื่นฟ้องต่อศาล จะบังเกิดจะบังเกิดมูลคดีเบื้องต้นก็ด้วยคำฟ้อง พยานปาก ของผู้แทนทางกฏหมาย (ทนาย หรืออัยการ)
๓.) ในการพิจารณาคดี จะบังเกิดมูลพิจารณาก็ด้วยดุลย์พินิจตรวจสอบ พยานหลักฐานของคดี โดยจากคู่ความทั้งสองฝ่าย
ในทางกฎหมาย นั้นถูกต้อง “พยานปากมิใช่การยีนยันข้อเท็จจริง” แต่เป็น “จุดเริ่มต้นของการสันนิฐานคดี” อันมีความจำเป็นที่จะต้องหาข้อพิสูจน์ในชั้นพิจารณาสืบความโดยผู้พิพากษา ในเมื่อคำร้อง ระบุถึงการปฎิบัติหน้าที่จับกุมโดยมิชอบด้วยการปฎิบัติหน้าที่ การสอบสวนหามูลความจริงเบื้องต้นก็คือ ผู้ถูกจับกุมนี้เป็นการกระทำที่ได้บังเกิดขึ้นแล้วถูกต้องหรือไม่ การตรวจสอบหาข้อมูลหลักฐานเป็นสิ่งที่อยู่ในสิทธิอำนาจของศาลผู้รับคำร้องและก็มิได้เป็นการกระทำที่เหลือความสามารถ ส่วนลักษณะเป็นการยืนยันข้อเท็จจริง คือ การจับกุมนั้น ชอบหรือมิชอบโดยหน้าที่ อยู่ในชั้นพิจารณาตรวจสอบคดีอันอาจมีความจำเป็นที่จะต้องใช้ข้อมูลพยานหลักฐานจากคู่กรณีเข้าหักล้างกัน
ในการใช้ดุลย์พินิจตาม วิอาญา ม.๙๐ ที่ระบุเอาไว้ว่า “เมื่อได้รับคำร้องดังนั้น ให้ศาลดำเนินการใต่สวนฝ่ายเดียวโดยด่วน ถ้าศาลเห็นว่าคำร้องนั้นมีมูล...” หรือคือมีการจับกุมจริง “...ศาลมีอำนาจสั่งผู้คุมขังให้นำตัวผู้ถูกคุมขังมาศาลโดยพลัน...” หรือคือขั้นตอนการพิจารณาตรวจสอบข้อเท็จจริง ฉนั้นการที่ศาลนั่งบัลลังก์ อ่านคำสั่ง ก็ย่อมหมายถึงว่า ได้มีการสอบถามผู้ถูกคุมขังเสร็จสิ้นไปแล้ว และเห็นว่า “...และถ้าผู้ถูกคุมขังแสดงให้เป็นที่พอใจแก่ศาลไม่ได้ว่าการคุมขังเป็นการชอบด้วยกฎหมาย....” ซึ่งในจุดนี้มิได้หมายถึงการให้เหตุผล “ไม่มีมูลเพียงพอที่ศาลจะรับไว้เพื่อ ดำเนินการไต่สวน” เพราะจุดสำคัญขึ้นอยู่ที่ว่า “มีการจับกุมโดย จนท.รัฐ จริงหรือไม่” แต่มิใช่ในเนื้อหาหลักของคดี “เป็นการปฎิบัติหน้าที่มิชอบหรือไม่อย่างไร” และก็เช่นกัน เอกสารท้ายคำร้องของผู้ร้อง ครับ
ข้อสังเกตุเหล่านี้ จึงเป็นที่มา ของความคิดสัพสนของ จขกท. ที่กราบขอข้อชี้แน๊ะ จากสมาชิกด้านวิชาการใน รดน. ครับ
เพราะเป็นเพียง “คำบอกเล่า” โดยพยานปาก จึงยกคำร้อง..... งง
๒.) ในการยื่นฟ้องต่อศาล จะบังเกิดจะบังเกิดมูลคดีเบื้องต้นก็ด้วยคำฟ้อง พยานปาก ของผู้แทนทางกฏหมาย (ทนาย หรืออัยการ)
๓.) ในการพิจารณาคดี จะบังเกิดมูลพิจารณาก็ด้วยดุลย์พินิจตรวจสอบ พยานหลักฐานของคดี โดยจากคู่ความทั้งสองฝ่าย
ในทางกฎหมาย นั้นถูกต้อง “พยานปากมิใช่การยีนยันข้อเท็จจริง” แต่เป็น “จุดเริ่มต้นของการสันนิฐานคดี” อันมีความจำเป็นที่จะต้องหาข้อพิสูจน์ในชั้นพิจารณาสืบความโดยผู้พิพากษา ในเมื่อคำร้อง ระบุถึงการปฎิบัติหน้าที่จับกุมโดยมิชอบด้วยการปฎิบัติหน้าที่ การสอบสวนหามูลความจริงเบื้องต้นก็คือ ผู้ถูกจับกุมนี้เป็นการกระทำที่ได้บังเกิดขึ้นแล้วถูกต้องหรือไม่ การตรวจสอบหาข้อมูลหลักฐานเป็นสิ่งที่อยู่ในสิทธิอำนาจของศาลผู้รับคำร้องและก็มิได้เป็นการกระทำที่เหลือความสามารถ ส่วนลักษณะเป็นการยืนยันข้อเท็จจริง คือ การจับกุมนั้น ชอบหรือมิชอบโดยหน้าที่ อยู่ในชั้นพิจารณาตรวจสอบคดีอันอาจมีความจำเป็นที่จะต้องใช้ข้อมูลพยานหลักฐานจากคู่กรณีเข้าหักล้างกัน
ในการใช้ดุลย์พินิจตาม วิอาญา ม.๙๐ ที่ระบุเอาไว้ว่า “เมื่อได้รับคำร้องดังนั้น ให้ศาลดำเนินการใต่สวนฝ่ายเดียวโดยด่วน ถ้าศาลเห็นว่าคำร้องนั้นมีมูล...” หรือคือมีการจับกุมจริง “...ศาลมีอำนาจสั่งผู้คุมขังให้นำตัวผู้ถูกคุมขังมาศาลโดยพลัน...” หรือคือขั้นตอนการพิจารณาตรวจสอบข้อเท็จจริง ฉนั้นการที่ศาลนั่งบัลลังก์ อ่านคำสั่ง ก็ย่อมหมายถึงว่า ได้มีการสอบถามผู้ถูกคุมขังเสร็จสิ้นไปแล้ว และเห็นว่า “...และถ้าผู้ถูกคุมขังแสดงให้เป็นที่พอใจแก่ศาลไม่ได้ว่าการคุมขังเป็นการชอบด้วยกฎหมาย....” ซึ่งในจุดนี้มิได้หมายถึงการให้เหตุผล “ไม่มีมูลเพียงพอที่ศาลจะรับไว้เพื่อ ดำเนินการไต่สวน” เพราะจุดสำคัญขึ้นอยู่ที่ว่า “มีการจับกุมโดย จนท.รัฐ จริงหรือไม่” แต่มิใช่ในเนื้อหาหลักของคดี “เป็นการปฎิบัติหน้าที่มิชอบหรือไม่อย่างไร” และก็เช่นกัน เอกสารท้ายคำร้องของผู้ร้อง ครับ
ข้อสังเกตุเหล่านี้ จึงเป็นที่มา ของความคิดสัพสนของ จขกท. ที่กราบขอข้อชี้แน๊ะ จากสมาชิกด้านวิชาการใน รดน. ครับ