ศูนย์ข้อมูลเศรษฐกิจการแรงงาน เผยสถิติจ้างงาน 5 อุตสาหกรรมหลักเดือนกันยายน 2558 พบภาคอิเล็กทรอนิกส์การเลิกจ้าง 2,430 คน
ขยายตัวร้อยละ 206.43 เมื่อเทียบกับ ก.ย. 57 สูงสุดในรอบปี (ก.ย. 57-ก.ย. 58)
23 พ.ย. 2558 ศูนย์ข้อมูลเศรษฐกิจการแรงงาน สำนักเศรษฐกิจการแรงงาน สำนักงานปลัดกระทรวงแรงงานวิเคราะห์ข้อมูลการจ้างงาน [1] การเลิกจ้าง [2] และการว่างงาน [3] ของแรงงานในระบบประกันสังคม จำแนก 5 รายอุตสาหกรรม ณ เดือนกันยายน 2558 ซึ่งเป็นประเภทกิจการที่มีความสำคัญต่อการส่งออก หรือมีการจ้างงานในสัดส่วนที่สูง มีสถานะดังนี้
1. สิ่งทอ การจ้างงานชะลอตัวร้อยละ -3.10 , การว่างงานชะลอตัวร้อยละ -7.17 , การเลิกจ้างชะลอตัวร้อยละ -26.35
2. เครื่องใช้อิเล็กทรอนิกส์ การจ้างงานขยายตัวร้อยละ 3.95 , การว่างงานขยายตัวร้อยละ 45.12 , การเลิกจ้างขยายตัวร้อยละ 206.43
3. เครื่องใช้ไฟฟ้า การจ้างงานขยายตัวร้อยละ 4.71 , การว่างงานขยายตัวร้อยละ 21.11 , การเลิกจ้างขยายตัวร้อยละ 211.48
4. ยานยนต์ การจ้างงานชะลอตัวร้อยละ -2.50 , การว่างงานขยายตัวร้อยละ 15.04 , การเลิกจ้างขยายตัวร้อยละ 63.13
5. เครื่องประดับ การจ้างงานขยายตัวร้อยละ 3.16 , การว่างงานขยายตัวร้อยละ 29.79 , การเลิกจ้างขยายตัวร้อยละ 96.17
อุตสาหกรรมสิ่งทอ มีการจ้างงานจำนวน 158,233 คน มีผู้ว่างงานจำนวน 1,969 คน มีผู้ที่ถูกเลิกจ้างจำนวน 559 คน จากข้อมูล ณ กันยายน 2558 เมื่อเทียบกับเดือนที่แล้ว (สิงหาคม 2558) พบว่า การจ้างงาน ในอุตสาหกรรมสิ่งทอมีอัตราการชะลอตัว (%MoM) คิดเป็นร้อยละ -0.22 และเมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของ ปีที่แล้ว (กันยายน 2557) พบว่า การจ้างงานมีอัตราการชะลอตัวเช่นเดียวกัน (%YoY) คิดเป็นร้อยละ -3.10 เนื่องจากคำสั่งซื้อจากตลาดอาเซียนลดลง ประกอบกับการปิดกิจการของโรงงานทอผ้าในประเทศ นอกจากนี้ยังมีการนำเข้าผ้าผืนจากต่างประเทศ เพื่อตอบสนองความต้องการที่หลากหลาย
ผู้ว่างงานกรณีถูกเลิกจ้าง เมื่อเทียบกับเดือนสิงหาคม 2558 มีอัตราการชะลอตัว (%MoM) คิดเป็นร้อยละ -3.45 และเมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีที่แล้ว (กันยายน 2557) มีอัตราการชะลอตัวเช่นเดียวกัน (%YoY) คิดเป็นร้อยละ -26.35 ผู้ว่างงานกรณีถูกเลิกจ้างชะลอตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 3 และผู้ว่างงานทั้งหมด เมื่อเทียบกับเดือนสิงหาคม 2558 มีอัตราการชะลอตัว (%MoM) คิดเป็น ร้อยละ -6.86 และเมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีที่แล้ว (กันยายน 2557) มีอัตราการชะลอตัวเช่นเดียวกัน (%YoY) คิดเป็นร้อยละ -7.17
การเลิกจ้างในภาคอุตสาหกรรมเครื่องใช้อิเล็กทรอนิกส์เมื่อเดือนกันยายน 2558 ที่ผ่านมาจำนวน 2,430 คน ถือว่าสูงสุดในรอบปี (ก.ย. 2557-ก.ย. 2558)
อุตสาหกรรมเครื่องใช้อิเล็กทรอนิกส์ มีการจ้างงานจำนวน 419,384 คน มีผู้ว่างงานจำนวน 6,397 คน มีผู้ที่ถูกเลิกจ้างจำนวน 2,430 คน จากข้อมูล ณ กันยายน 2558 เมื่อเทียบกับเดือนที่แล้ว (สิงหาคม 2558) พบว่าการจ้างงานในอุตสาหกรรมเครื่องใช้อิเล็กทรอนิกส์มีอัตราการชะลอตัว (%MoM) คิดเป็นร้อยละ -0.17 แต่เมื่อเทียบข้อมูลเดือนเดียวกันกับปีที่แล้ว (กันยายน 2557) พบว่า การจ้างงานมีอัตราการขยายตัว (%YoY) คิดเป็นร้อยละ 3.95 เนื่องจากมีการผลิต Semiconductor และ Other IC เพิ่มขึ้น เพื่อนำไปใช้เป็นชิ้นส่วนในอุปกรณ์สื่อสาร เช่น แท๊บเล็ต สมาร์ทโฟน ซึ่งสอดคล้องกับตลาดโลกที่มีการขยายตัวเช่นกัน
ผู้ว่างงานกรณีถูกเลิกจ้าง เมื่อเทียบกับเดือนสิงหาคม 2558 มีอัตราการขยายตัว (%MoM) คิดเป็นร้อยละ 29.19 และเมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีที่แล้ว (กันยายน 2557) มีอัตราการขยายตัวเช่นเดียวกัน (%YoY) คิดเป็นร้อยละ 206.43 และผู้ว่างงานทั้งหมด เมื่อเทียบกับเดือนสิงหาคม 2558 มีอัตราการขยายตัว (%MoM) คิดเป็นร้อยละ 1.09 และเมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีที่แล้ว (กันยายน 2558) มีอัตราการขยายตัวเช่นเดียวกัน (%YoY) คิดเป็นร้อยละ 45.12
อุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้า มีการจ้างงานจำนวน 116,451 คน มีผู้ว่างงานจำนวน 1,566 คน มีผู้ที่ถูกเลิกจ้างจำนวน 380 คน จากข้อมูล ณ กันยายน 2558 เมื่อเทียบกับเดือนที่แล้ว (สิงหาคม 2558) พบว่า การจ้างงาน ในอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้ามีอัตราการขยายตัว (%MoM) คิดเป็นร้อยละ 0.80 และเมื่อเทียบกับ เดือนเดียวกันของปีที่แล้ว (กันยายน 2557) พบว่า การจ้างงานมีอัตราการขยายตัวเช่นเดียวกัน (%YoY) คิดเป็นร้อยละ 4.71 เนื่องจากมีโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการและมีการจ้างงานเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะอุตสาหกรรมการผลิตและประกอบเครื่องใช้ไฟฟ้า ประกอบกับการส่งออกไปตะวันออกกลางปรับตัวเพิ่มขึ้น เนื่องจากตะวันออกกลางกำลังจะมีการปรับเพิ่มค่าประสิทธิภาพพลังงาน (EER) ทำให้มีคำสั่งซื้อ เข้ามามากขึ้น เพื่อเก็บเป็นสต๊อคสินค้า
ผู้ว่างงานกรณีถูกเลิกจ้าง เมื่อเทียบกับเดือนสิงหาคม 2558 มีอัตราการชะลอตัว (%MoM) คิดเป็นร้อยละ -9.31 แต่เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีที่แล้ว (กันยายน 2557) มีอัตราการขยายตัว (%YoY) คิดเป็นร้อยละ 211.48 ผู้ว่างงานกรณีถูกเลิกจ้างมีอัตราการขยายตัวสูง ขยายตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 8 เนื่องจากเครื่องรับโทรทัศน์มีผู้ผลิตบางรายย้ายฐานการผลิตไปประเทศในกลุ่มอาเซียน และผู้ว่างงานทั้งหมด เมื่อเทียบกับเดือนสิงหาคม 2558 มีอัตราการชะลอตัว (%MoM) คิดเป็น ร้อยละ -10.92 แต่เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีที่แล้ว (กันยายน 2557) มีอัตราการขยายตัว (%YoY) คิดเป็นร้อยละ 21.11 ขยายตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 8
อุตสาหกรรมยานยนต์ มีการจ้างงานจำนวน 236,978 คน ผู้ว่างงานจำนวน 2,907 คน ผู้ที่ถูกเลิกจ้างจำนวน 292 คน จากข้อมูล ณ กันยายน 2558 เมื่อเทียบกับเดือนที่แล้ว (สิงหาคม 2558) พบว่า การจ้างงาน ในอุตสาหกรรมยานยนต์มีอัตราการชะลอตัว (%MoM) คิดเป็นร้อยละ -0.14 และเมื่อเทียบข้อมูลเดียวกันกับปีที่แล้ว (กันยายน2557) พบว่า การจ้างงานมีอัตราการชะลอตัวเช่นเดียวกัน (%YoY) คิดเป็นร้อยละ -2.50 เป็นการชะลอตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 11 เนื่องจากอุตสาหกรรมยานยนต์ชะลอตัว คาดว่ามูลค่าการจำหน่ายรถยนต์มีแนวโน้มชะลอลงเล็กน้อยตัวลง เนื่องจากปัญหาภายในประเทศ อย่างไรก็ดี ยอดขายในยุโรปเพิ่มขึ้นเนื่องจากมีการเก็บสต็อกเพื่อจำหน่ายไว้แล้ว
ผู้ว่างงานกรณีถูกเลิกจ้าง เมื่อเทียบกับเดือนสิงหาคม 2558 มีอัตราการชะลอตัว (%MoM) คิดเป็นร้อยละ (-2.01) เมื่อเทียบกับปีที่แล้ว (กันยายน 2557) มีอัตราการขยายตัว (%YoY) คิดเป็นร้อยละ 63.13
และผู้ว่างงานทั้งหมด เมื่อเทียบกับเดือนสิงหาคม 2558 มีอัตราการชะลอตัว (%MoM) คิดเป็น ร้อยละ (-3.77) และเมื่อเทียบกับปีที่แล้ว (กันยายน2557) มีอัตราการขยายตัว (%YoY) คิดเป็นร้อยละ 15.04
อุตสาหกรรมเครื่องประดับ มีการจ้างงานจำนวน 72,483 คน มีผู้ว่างงานจำนวน 1,464 คน ผู้ที่ถูกเลิกจ้างจำนวน 614 คน จากข้อมูล ณ กันยายน 2558 เมื่อเทียบกับเดือนที่แล้ว (สิงหาคม 2558) พบว่า การจ้างงาน ในอุตสาหกรรมเครื่องประดับมีอัตราการขยายตัว (%MoM) คิดเป็นร้อยละ 0.45 แต่เมื่อเทียบกับ เดือนเดียวกันของปีที่แล้ว (กันยายน 2557) พบว่า การจ้างงานมีอัตราการขยายตัว (%YoY) คิดเป็นร้อยละ 3.16 เนื่องจากการส่งออกไปยังตลาดสำคัญ ส่วนใหญ่ขยายตัวได้ดีไม่ว่าจะเป็นฮ่องกง สหภาพยุโรป สหรัฐอเมริกา กลุ่มประเทศตะวันออกกลาง ญี่ปุ่น อาเซียน ประเทศหมู่เกาะแปซิฟิก และจีน ผู้มีกำลังซื้อในกลุ่มประเทศดังกล่าวยังคงมีความต้องการบริโภคสินค้าอัญมณีและเครื่องประดับไทย แม้ว่าการขยายตัวทางเศรษฐกิจในบางกลุ่มประเทศ อาทิ สหภาพยุโรป ญี่ปุ่น และจีน ยังคงเปราะบางอยู่ก็ตาม
ผู้ว่างงานกรณีถูกเลิกจ้าง เมื่อเทียบกับเดือนสิงหาคม 2558 มีอัตราการขยายตัว (%MoM) คิดเป็นร้อยละ 7.72 และเมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีที่แล้ว (กันยายน 2557) มีอัตราการขยายตัวเช่นเดียวกัน (%YoY) คิดเป็นร้อยละ 96.17 และผู้ว่างงานทั้งหมด เมื่อเทียบกับเดือนสิงหาคม 2558 มีอัตราการชะลอตัว (%MoM) คิดเป็น ร้อยละ (-4.00) และเมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีที่แล้ว (กันยายน 2557) มีอัตราการขยายตัวเช่นเดียวกัน (%YoY) คิดเป็นร้อยละ 29.79
_______
[1] การจ้างงาน = ผู้ประกันตน มาตรา 33 ในระบบประกันสังคม
[2] การเลิกจ้าง = ผู้รับประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงาน ประเภทเลิกจ้าง (R3) ในระบบประกันสังคม
[3] การว่างงาน = ผู้รับประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงานทั้งหมด (R1-R3) ในระบบประกันสังคมประกอบด้วย 3 ประเภท ได้แก่ ลาออก (R1) สิ้นสุดสัญญาจ้าง (R2) และเลิกจ้าง (R3)
JJNY : เดือน ก.ย. 58 อิเล็กทรอนิกส์เลิกจ้าง 2,430 คน
23 พ.ย. 2558 ศูนย์ข้อมูลเศรษฐกิจการแรงงาน สำนักเศรษฐกิจการแรงงาน สำนักงานปลัดกระทรวงแรงงานวิเคราะห์ข้อมูลการจ้างงาน [1] การเลิกจ้าง [2] และการว่างงาน [3] ของแรงงานในระบบประกันสังคม จำแนก 5 รายอุตสาหกรรม ณ เดือนกันยายน 2558 ซึ่งเป็นประเภทกิจการที่มีความสำคัญต่อการส่งออก หรือมีการจ้างงานในสัดส่วนที่สูง มีสถานะดังนี้
1. สิ่งทอ การจ้างงานชะลอตัวร้อยละ -3.10 , การว่างงานชะลอตัวร้อยละ -7.17 , การเลิกจ้างชะลอตัวร้อยละ -26.35
2. เครื่องใช้อิเล็กทรอนิกส์ การจ้างงานขยายตัวร้อยละ 3.95 , การว่างงานขยายตัวร้อยละ 45.12 , การเลิกจ้างขยายตัวร้อยละ 206.43
3. เครื่องใช้ไฟฟ้า การจ้างงานขยายตัวร้อยละ 4.71 , การว่างงานขยายตัวร้อยละ 21.11 , การเลิกจ้างขยายตัวร้อยละ 211.48
4. ยานยนต์ การจ้างงานชะลอตัวร้อยละ -2.50 , การว่างงานขยายตัวร้อยละ 15.04 , การเลิกจ้างขยายตัวร้อยละ 63.13
5. เครื่องประดับ การจ้างงานขยายตัวร้อยละ 3.16 , การว่างงานขยายตัวร้อยละ 29.79 , การเลิกจ้างขยายตัวร้อยละ 96.17
อุตสาหกรรมสิ่งทอ มีการจ้างงานจำนวน 158,233 คน มีผู้ว่างงานจำนวน 1,969 คน มีผู้ที่ถูกเลิกจ้างจำนวน 559 คน จากข้อมูล ณ กันยายน 2558 เมื่อเทียบกับเดือนที่แล้ว (สิงหาคม 2558) พบว่า การจ้างงาน ในอุตสาหกรรมสิ่งทอมีอัตราการชะลอตัว (%MoM) คิดเป็นร้อยละ -0.22 และเมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของ ปีที่แล้ว (กันยายน 2557) พบว่า การจ้างงานมีอัตราการชะลอตัวเช่นเดียวกัน (%YoY) คิดเป็นร้อยละ -3.10 เนื่องจากคำสั่งซื้อจากตลาดอาเซียนลดลง ประกอบกับการปิดกิจการของโรงงานทอผ้าในประเทศ นอกจากนี้ยังมีการนำเข้าผ้าผืนจากต่างประเทศ เพื่อตอบสนองความต้องการที่หลากหลาย
ผู้ว่างงานกรณีถูกเลิกจ้าง เมื่อเทียบกับเดือนสิงหาคม 2558 มีอัตราการชะลอตัว (%MoM) คิดเป็นร้อยละ -3.45 และเมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีที่แล้ว (กันยายน 2557) มีอัตราการชะลอตัวเช่นเดียวกัน (%YoY) คิดเป็นร้อยละ -26.35 ผู้ว่างงานกรณีถูกเลิกจ้างชะลอตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 3 และผู้ว่างงานทั้งหมด เมื่อเทียบกับเดือนสิงหาคม 2558 มีอัตราการชะลอตัว (%MoM) คิดเป็น ร้อยละ -6.86 และเมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีที่แล้ว (กันยายน 2557) มีอัตราการชะลอตัวเช่นเดียวกัน (%YoY) คิดเป็นร้อยละ -7.17
การเลิกจ้างในภาคอุตสาหกรรมเครื่องใช้อิเล็กทรอนิกส์เมื่อเดือนกันยายน 2558 ที่ผ่านมาจำนวน 2,430 คน ถือว่าสูงสุดในรอบปี (ก.ย. 2557-ก.ย. 2558)
อุตสาหกรรมเครื่องใช้อิเล็กทรอนิกส์ มีการจ้างงานจำนวน 419,384 คน มีผู้ว่างงานจำนวน 6,397 คน มีผู้ที่ถูกเลิกจ้างจำนวน 2,430 คน จากข้อมูล ณ กันยายน 2558 เมื่อเทียบกับเดือนที่แล้ว (สิงหาคม 2558) พบว่าการจ้างงานในอุตสาหกรรมเครื่องใช้อิเล็กทรอนิกส์มีอัตราการชะลอตัว (%MoM) คิดเป็นร้อยละ -0.17 แต่เมื่อเทียบข้อมูลเดือนเดียวกันกับปีที่แล้ว (กันยายน 2557) พบว่า การจ้างงานมีอัตราการขยายตัว (%YoY) คิดเป็นร้อยละ 3.95 เนื่องจากมีการผลิต Semiconductor และ Other IC เพิ่มขึ้น เพื่อนำไปใช้เป็นชิ้นส่วนในอุปกรณ์สื่อสาร เช่น แท๊บเล็ต สมาร์ทโฟน ซึ่งสอดคล้องกับตลาดโลกที่มีการขยายตัวเช่นกัน
ผู้ว่างงานกรณีถูกเลิกจ้าง เมื่อเทียบกับเดือนสิงหาคม 2558 มีอัตราการขยายตัว (%MoM) คิดเป็นร้อยละ 29.19 และเมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีที่แล้ว (กันยายน 2557) มีอัตราการขยายตัวเช่นเดียวกัน (%YoY) คิดเป็นร้อยละ 206.43 และผู้ว่างงานทั้งหมด เมื่อเทียบกับเดือนสิงหาคม 2558 มีอัตราการขยายตัว (%MoM) คิดเป็นร้อยละ 1.09 และเมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีที่แล้ว (กันยายน 2558) มีอัตราการขยายตัวเช่นเดียวกัน (%YoY) คิดเป็นร้อยละ 45.12
อุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้า มีการจ้างงานจำนวน 116,451 คน มีผู้ว่างงานจำนวน 1,566 คน มีผู้ที่ถูกเลิกจ้างจำนวน 380 คน จากข้อมูล ณ กันยายน 2558 เมื่อเทียบกับเดือนที่แล้ว (สิงหาคม 2558) พบว่า การจ้างงาน ในอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้ามีอัตราการขยายตัว (%MoM) คิดเป็นร้อยละ 0.80 และเมื่อเทียบกับ เดือนเดียวกันของปีที่แล้ว (กันยายน 2557) พบว่า การจ้างงานมีอัตราการขยายตัวเช่นเดียวกัน (%YoY) คิดเป็นร้อยละ 4.71 เนื่องจากมีโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการและมีการจ้างงานเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะอุตสาหกรรมการผลิตและประกอบเครื่องใช้ไฟฟ้า ประกอบกับการส่งออกไปตะวันออกกลางปรับตัวเพิ่มขึ้น เนื่องจากตะวันออกกลางกำลังจะมีการปรับเพิ่มค่าประสิทธิภาพพลังงาน (EER) ทำให้มีคำสั่งซื้อ เข้ามามากขึ้น เพื่อเก็บเป็นสต๊อคสินค้า
ผู้ว่างงานกรณีถูกเลิกจ้าง เมื่อเทียบกับเดือนสิงหาคม 2558 มีอัตราการชะลอตัว (%MoM) คิดเป็นร้อยละ -9.31 แต่เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีที่แล้ว (กันยายน 2557) มีอัตราการขยายตัว (%YoY) คิดเป็นร้อยละ 211.48 ผู้ว่างงานกรณีถูกเลิกจ้างมีอัตราการขยายตัวสูง ขยายตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 8 เนื่องจากเครื่องรับโทรทัศน์มีผู้ผลิตบางรายย้ายฐานการผลิตไปประเทศในกลุ่มอาเซียน และผู้ว่างงานทั้งหมด เมื่อเทียบกับเดือนสิงหาคม 2558 มีอัตราการชะลอตัว (%MoM) คิดเป็น ร้อยละ -10.92 แต่เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีที่แล้ว (กันยายน 2557) มีอัตราการขยายตัว (%YoY) คิดเป็นร้อยละ 21.11 ขยายตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 8
อุตสาหกรรมยานยนต์ มีการจ้างงานจำนวน 236,978 คน ผู้ว่างงานจำนวน 2,907 คน ผู้ที่ถูกเลิกจ้างจำนวน 292 คน จากข้อมูล ณ กันยายน 2558 เมื่อเทียบกับเดือนที่แล้ว (สิงหาคม 2558) พบว่า การจ้างงาน ในอุตสาหกรรมยานยนต์มีอัตราการชะลอตัว (%MoM) คิดเป็นร้อยละ -0.14 และเมื่อเทียบข้อมูลเดียวกันกับปีที่แล้ว (กันยายน2557) พบว่า การจ้างงานมีอัตราการชะลอตัวเช่นเดียวกัน (%YoY) คิดเป็นร้อยละ -2.50 เป็นการชะลอตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 11 เนื่องจากอุตสาหกรรมยานยนต์ชะลอตัว คาดว่ามูลค่าการจำหน่ายรถยนต์มีแนวโน้มชะลอลงเล็กน้อยตัวลง เนื่องจากปัญหาภายในประเทศ อย่างไรก็ดี ยอดขายในยุโรปเพิ่มขึ้นเนื่องจากมีการเก็บสต็อกเพื่อจำหน่ายไว้แล้ว
ผู้ว่างงานกรณีถูกเลิกจ้าง เมื่อเทียบกับเดือนสิงหาคม 2558 มีอัตราการชะลอตัว (%MoM) คิดเป็นร้อยละ (-2.01) เมื่อเทียบกับปีที่แล้ว (กันยายน 2557) มีอัตราการขยายตัว (%YoY) คิดเป็นร้อยละ 63.13
และผู้ว่างงานทั้งหมด เมื่อเทียบกับเดือนสิงหาคม 2558 มีอัตราการชะลอตัว (%MoM) คิดเป็น ร้อยละ (-3.77) และเมื่อเทียบกับปีที่แล้ว (กันยายน2557) มีอัตราการขยายตัว (%YoY) คิดเป็นร้อยละ 15.04
อุตสาหกรรมเครื่องประดับ มีการจ้างงานจำนวน 72,483 คน มีผู้ว่างงานจำนวน 1,464 คน ผู้ที่ถูกเลิกจ้างจำนวน 614 คน จากข้อมูล ณ กันยายน 2558 เมื่อเทียบกับเดือนที่แล้ว (สิงหาคม 2558) พบว่า การจ้างงาน ในอุตสาหกรรมเครื่องประดับมีอัตราการขยายตัว (%MoM) คิดเป็นร้อยละ 0.45 แต่เมื่อเทียบกับ เดือนเดียวกันของปีที่แล้ว (กันยายน 2557) พบว่า การจ้างงานมีอัตราการขยายตัว (%YoY) คิดเป็นร้อยละ 3.16 เนื่องจากการส่งออกไปยังตลาดสำคัญ ส่วนใหญ่ขยายตัวได้ดีไม่ว่าจะเป็นฮ่องกง สหภาพยุโรป สหรัฐอเมริกา กลุ่มประเทศตะวันออกกลาง ญี่ปุ่น อาเซียน ประเทศหมู่เกาะแปซิฟิก และจีน ผู้มีกำลังซื้อในกลุ่มประเทศดังกล่าวยังคงมีความต้องการบริโภคสินค้าอัญมณีและเครื่องประดับไทย แม้ว่าการขยายตัวทางเศรษฐกิจในบางกลุ่มประเทศ อาทิ สหภาพยุโรป ญี่ปุ่น และจีน ยังคงเปราะบางอยู่ก็ตาม
ผู้ว่างงานกรณีถูกเลิกจ้าง เมื่อเทียบกับเดือนสิงหาคม 2558 มีอัตราการขยายตัว (%MoM) คิดเป็นร้อยละ 7.72 และเมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีที่แล้ว (กันยายน 2557) มีอัตราการขยายตัวเช่นเดียวกัน (%YoY) คิดเป็นร้อยละ 96.17 และผู้ว่างงานทั้งหมด เมื่อเทียบกับเดือนสิงหาคม 2558 มีอัตราการชะลอตัว (%MoM) คิดเป็น ร้อยละ (-4.00) และเมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีที่แล้ว (กันยายน 2557) มีอัตราการขยายตัวเช่นเดียวกัน (%YoY) คิดเป็นร้อยละ 29.79
_______
[1] การจ้างงาน = ผู้ประกันตน มาตรา 33 ในระบบประกันสังคม
[2] การเลิกจ้าง = ผู้รับประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงาน ประเภทเลิกจ้าง (R3) ในระบบประกันสังคม
[3] การว่างงาน = ผู้รับประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงานทั้งหมด (R1-R3) ในระบบประกันสังคมประกอบด้วย 3 ประเภท ได้แก่ ลาออก (R1) สิ้นสุดสัญญาจ้าง (R2) และเลิกจ้าง (R3)