สืบเนื่องมาจากตัวดิฉันไม่ใช่นักเรียนภาคปกติและอาศัยซื้อชีทมาอ่านค่ะ
แล้วมาสะดุดอยู่ที่จุดหนึ่งคือการคำนวณวันครบกำหนดของตั๋วเงินรับ
(และตัวดิฉันเองไม่มีทั้งชีทสรุปและหนังสือเรียนค่ะ)
เข้าเรื่องเลยนะคะ
สมมุติโจทย์จากในชีทเขาบอกว่า
- ตั๋วเงินมูลค่า 20,000 บาท ลงวันที่ 7 มีนาคม 25x1 ครบกำหนดยวันที่ 15 มิถุนายน 25x1 ดอกเบี้ย 10% เมื่อถึงวันสิ้นงวดบัญชีจะมีดอกเบี้ยเท่ากับกี่บาท
การคำนวนจากเฉลยนะคะ 1. อายุของตั๋วเงิน วันที่ 7 - 31 มีนาคม = 25 วัน
1 เมษายน - 31 พฤษภาคม = 61 วัน
1 - 15 มิถุนายน = 15 วัน
101 วัน
2. การคำนวนของตั๋ยวเมื่อครบกำหนด = 20,000 x 10% x 101/360
= 561
สังเกตวัน 7 -31 มีนาคมนะคะ จากเฉลยจะนับ 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 ซึ่งจะได้ = 25 วัน
แต่จะที่เคยศึกษามาในหนังสือเล่มอื่น ๆ นะคะ วิธีการคำนวณจะเป็นลักษณะนี้ค่ะ
1. อายุของตั๋วเงิน วันที่ 7 - 31 มีนาคม (31-7) = 24 วัน
1 เมษายน - 31 พฤษภาคม = 61 วัน
1 - 15 มิถุนายน = 15 วัน
100 วัน
2. การคำนวนของตั๋ยวเมื่อครบกำหนด = 20,000 x 10% x 100/360
= 556
สังเกตวัน 7 -31 มีนาคมนะคะ คือจะใช้วิธีลบกับเลยค่ะ เมื่อแทบคำตอบกันแล้วยอดต่างกันตั้ง 5 บาท
สิ่งที่อยากจะทราบนะคะ คือการสอน ACC 1102 ในม.รามเขาสอนวิธีการคำนวณยอดวันครบกำหนดกันอย่างไรคะ
เนื่องจากไม่มีหนังสือและไม่ได้เข้าเรียนจึงไม่ทราบเพราะเรียนสองที่ซ้อนกันค่ะ หากใช้วิธีต่างกันจะได้ทำความเข้าใจใหม่นะคะ
และอีกไม่กี่วันจะสอบแล้วด้วยค่ะ เพราะฉะนั้นขอความกรุณาด้วยนะคะ
ขออนุญาตถามคนที่เรียน ม.ราม คณะบริหาร สาขาบัญชีนะคะ
แล้วมาสะดุดอยู่ที่จุดหนึ่งคือการคำนวณวันครบกำหนดของตั๋วเงินรับ
(และตัวดิฉันเองไม่มีทั้งชีทสรุปและหนังสือเรียนค่ะ)
เข้าเรื่องเลยนะคะ
สมมุติโจทย์จากในชีทเขาบอกว่า
- ตั๋วเงินมูลค่า 20,000 บาท ลงวันที่ 7 มีนาคม 25x1 ครบกำหนดยวันที่ 15 มิถุนายน 25x1 ดอกเบี้ย 10% เมื่อถึงวันสิ้นงวดบัญชีจะมีดอกเบี้ยเท่ากับกี่บาท
การคำนวนจากเฉลยนะคะ 1. อายุของตั๋วเงิน วันที่ 7 - 31 มีนาคม = 25 วัน
1 เมษายน - 31 พฤษภาคม = 61 วัน
1 - 15 มิถุนายน = 15 วัน
101 วัน
2. การคำนวนของตั๋ยวเมื่อครบกำหนด = 20,000 x 10% x 101/360
= 561
สังเกตวัน 7 -31 มีนาคมนะคะ จากเฉลยจะนับ 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 ซึ่งจะได้ = 25 วัน
แต่จะที่เคยศึกษามาในหนังสือเล่มอื่น ๆ นะคะ วิธีการคำนวณจะเป็นลักษณะนี้ค่ะ
1. อายุของตั๋วเงิน วันที่ 7 - 31 มีนาคม (31-7) = 24 วัน
1 เมษายน - 31 พฤษภาคม = 61 วัน
1 - 15 มิถุนายน = 15 วัน
100 วัน
2. การคำนวนของตั๋ยวเมื่อครบกำหนด = 20,000 x 10% x 100/360
= 556
สังเกตวัน 7 -31 มีนาคมนะคะ คือจะใช้วิธีลบกับเลยค่ะ เมื่อแทบคำตอบกันแล้วยอดต่างกันตั้ง 5 บาท
สิ่งที่อยากจะทราบนะคะ คือการสอน ACC 1102 ในม.รามเขาสอนวิธีการคำนวณยอดวันครบกำหนดกันอย่างไรคะ
เนื่องจากไม่มีหนังสือและไม่ได้เข้าเรียนจึงไม่ทราบเพราะเรียนสองที่ซ้อนกันค่ะ หากใช้วิธีต่างกันจะได้ทำความเข้าใจใหม่นะคะ
และอีกไม่กี่วันจะสอบแล้วด้วยค่ะ เพราะฉะนั้นขอความกรุณาด้วยนะคะ