คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 12
จากหนังสือ "กรณีธรรมกาย" โดยพระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตโต)
และจากพฤติกรรมทั้งหมดทั้งมวลของท่านคึกฤทธิ์ ท่านคิดว่า
ท่านคึกฤทธิ์ ประพฤติวิปริตจากพระธรรมวินัย หรือ ทำพระวินัยให้วิปริต หรือว่า ทั้งสองข้อ ?
ดาวน์โหลดฟรีหนังสือ " รู้จัก พระไตรปิฏก ให้ชัดให้ตรง (กรณีพระคึกฤทธิ์) " โดยพระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตโต)
http://www.watnyanaves.net/uploads/File/books/pdf/know_the_pali_canon_clearly_and_correctly.pdf
ดาวน์โหลดฟรีหนังสือ "กรณีธรรมกาย" โดยพระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตโต)
http://www.watnyanaves.net/th/book_detail/10
และจากพฤติกรรมทั้งหมดทั้งมวลของท่านคึกฤทธิ์ ท่านคิดว่า
ท่านคึกฤทธิ์ ประพฤติวิปริตจากพระธรรมวินัย หรือ ทำพระวินัยให้วิปริต หรือว่า ทั้งสองข้อ ?
ดาวน์โหลดฟรีหนังสือ " รู้จัก พระไตรปิฏก ให้ชัดให้ตรง (กรณีพระคึกฤทธิ์) " โดยพระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตโต)
http://www.watnyanaves.net/uploads/File/books/pdf/know_the_pali_canon_clearly_and_correctly.pdf
ดาวน์โหลดฟรีหนังสือ "กรณีธรรมกาย" โดยพระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตโต)
http://www.watnyanaves.net/th/book_detail/10
แสดงความคิดเห็น
--- พระคึกฤทธิ์ ยกระดับ ใส่ความอรรถกถา กล่าวหาว่า อรรถกถาขัดแย้งกันเอง ---
นาทีที่ 3.12 พระคึกฤทธิ์บอกว่า
อรรถกถาขัดแย้งกันเอง เพราะในพระสูตร (อาณิสูตร) อรรถกถาอธิบายว่า พาหิรกา สาวกภาสิตา คือ คำสาวกนอกศาสนา
ส่วนในพระวินัยที่อธิบายเรื่องธรรมได้แก่อะไร (พระวินัยปิฎกมหาวิภังค์ ภาค ๒ ข้อ ๒๘๖) กลับไปอธิบายว่า
สาวกภาษิตคือภาษิตของสาวกในพระพุทธศาสนา
^
^
พระคึกฤทธิ์พูดไม่หมด ถ้าใครไม่ตรวจสอบบาลีตามก็จะเชื่อพระคึกฤทธิ์ ที่ใส่ความอรรถกถา
เหตุที่สองแห่งอธิบายไม่ตรงกันเพราะ
ในอาณิสูตร มีบาลีว่า พาหิรกา แปลว่า ภายนอก กำกับไว้ จึงต้องแปลว่า สาวกภาษิตนอกพระพุทธศาสนา
ส่วนในพระวินัยไม่มีคำว่า พาหิรกา กำกับไว้ จึงไม่แปลว่า ภายนอก
พระอรรถกถาจารย์ท่านมิได้อธิบายขัดแย้งกันเอง แต่พระคึกฤทธิ์ใส่ความท่านโดยบิดเบือนพระบาลี
อาณิสูตร
http://www.geocities.ws/tmchote/tpd-mcu/tpd16-2.htm
รายละเอียดความหมายของ พาหิรกา สาวกภาสิตา มีมากมายหลายกระทู้แล้ว คงไม่ต้องกล่าวถึงอีก
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
--------------------------------------------------------
ส่วนในพระวินัยนั้นไม่มีคำว่า "พาหิรกา"
มีพระบาลีว่า
ธมฺโม นาม พุทฺธภาสิโต สาวกภาสิโต อิสิภาสิโต เทวตาภาสิโต อตฺถุปสญฺหิโต ธมฺมุปสญฺหิโต ฯ
ที่ชื่อว่า ธรรม ได้แก่ถ้อยคำที่เป็นพุทธภาษิต สาวกภาษิต อิสิภาษิต เทวตาภาษิต ซึ่งประกอบด้วยอรรถ ประกอบด้วยธรรม.
ดังนั้น เมื่อพระบาลีไม่มีคำว่า พาหิรกา จึงไม่สามารถแปลให้เหมือนในอาณิสูตรว่า ภายนอก ได้
พระคึกฤทธิ์จึงอธิบายผิด โดยมีเจตนาทำให้อรรถกถาขัดกันเพื่อให้ลงกับคำสอนของตัวเองที่สอนประชาชนว่า
อรรถกถาคือคำแต่งใหม่ มีความขัดแย้งกัน อย่าไปฟัง
ที่มา
http://watnaprapong.blogspot.com/2015/07/blog-post.html
.