http://ppantip.com/topic/33889306 กระทู้Part 1 มาต่อกระทู้Part2นะครับ
ถึงแม้เยอรมันจะแข็งแกร่งแค่ไหน แต่มันไม่ง่ายเลยครับกับทำตัวเป็นศูนย์กลางของอำนาจและมิตรภาพ เพราะว่าก่อนที่เยอรมันจะประกาศเป็นจักวรรดิเยอรมัน พี่แกสร้างศัตรูไว้เยอะเชียว ฉะนั้นนโยบายทางการฑูตทุกอย่างจะต้องสอดคล้องกับจุดประสงค์คือทำอย่างไรก็ได้ให้ฝรั่งเศษที่เยอรมันกลัวที่สุดไม่สามารถจับมือกับใครได้ นโยบายทางการทูตของพี่เยอรมันก้ใช้แบบแข็งกร้าวและผ่อนปรน เช่นให้ฝรั่งเศสขยายอาณานิคมไปในแอฟริกาและเอเชีย ฮันแน่! ในเมื่อเยอรมันเป็นศัตรูกับฝรั่งเศสทำไมต้องเชียร์ให้ฝรั่งเศสขยายดินแดนหล่ะค่ะ คำตอบคือมันเป็นทางจิตวิทยา กล่าวคือฝรั่งเศสแม่มมันแค้นเยอรมันมากๆ ก็เลยอยากจะลดความแค้นของฝรั่งเศสลง เท่านั้นยังไม่พอยังยิงปืนได้นก2ตัวโว้ยยยย
การที่ให้ฝรั่งเศสขยายอิทธิพลในแอฟริกาและเอเชียนั้น มันทำให้ฝรั่งเศสต้องเกิดปัญหากับอังกฤษ (ดินแดนแถบเป็นเขตอิทธิพลอังกฤษครับ) เพราะฉะนั้นฝรั่งเศสจะมีศัตรูเพิ่มขึ้นคืออังกฤษ และตัวเยอรมันเองก็จะสบายไปซักพัก โดยพยายามเบนความสนใจจากตัวเองไปยังฝรั่งเศสแทน (แม่มมมมมมเห็นไหมยิงปืนนัดเดียวได้นก2ตัว ฮ่าๆๆๆ ) แต่ทว่าเยอรมันก็ยังรอบคอบอยู่คือพยายามทำอย่างไรไม่ให้ไอ่ฝรั่งเศสไปจับมือกับใครได้ และตัวเองต้องสร้างศูนย์กลางของสัมพันธไมตรีระหว่างประเทศให้มีอำนาจเหนือกว่าอีกกลุ่มความสัมพันธไมตรีอื่นที่ฝรั่งเศสตั้งขึ้นมาได้ (พูดง่ายๆคือจับมือกับประเทศไหน กูก็ต้องจับมืออีกประเทศที่มีอำนาจมากกว่า) ดังนั้นแน่วคิดเรื่องการรวมคานอำนาจชาติอื่นก็เกิดขึ้นเป็นครั้งแรก
เดี๋ยวpart3 จะมาดูแต่ละประเทศจับมือกับใครบ้างก่อนเป็นสงครามโลกครั้งที่1ครับ
ภาพที่1อิทธิพลของอังกฤษในทวีปแอฟริกาครับ ส่วนอิทธิพลของฝรั่งเศสในแอฟริกาคือภาพที่2 หากเอามาเทียบกันก็จะแบ่งอิทธิพล2ฝั่งคือฝรั่งเศสและอังกฤษ ประเทศอื่นก็มีนะ แต่มีนิดเดียว ตามความคิดของผม คือเหตุผลที่ใครๆก็อยากได้แอฟริกา
1. ใครยืดครองได้รวยยยยยยยยยยยยยยยยย!!! เพราะทวีปนี้วัตถุดิบและทรัพยากรเยอะมากกกกกกกกกกกกกกกกกก เช่นป่าไม้ เพชร พลอย น้ำมัน ก๊าซธรรมชาติ และอื่นๆ
2. เรื่องของแรงงาน ทวีปแอฟริกาใหญ่โตมาก ทรัพยากรเยอะ แต่ประชากรท้องถิ่น (นิโกร) มันไม่เจริญและล้าหลัง พวกประเทศในยุโรปก็แข่งกันเป็นอุตสาหกรรม เพราะฉะนั้นตลาดแรงงานคนจึงสำคัญมาก ปล.มีการเผยแพร่ศาสนาด้วยนะครับ ถือว่าเป็นยึดครองอีกรูปแบบหนึ่ง
เกร็ดเล็กเกร็ดน้อยประวัติศาสตร์+รัฐศาสตร์ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ก่อนสภาวะเข้าสู่สงครามโลกครั้งที่ 1 [ Part2]
ถึงแม้เยอรมันจะแข็งแกร่งแค่ไหน แต่มันไม่ง่ายเลยครับกับทำตัวเป็นศูนย์กลางของอำนาจและมิตรภาพ เพราะว่าก่อนที่เยอรมันจะประกาศเป็นจักวรรดิเยอรมัน พี่แกสร้างศัตรูไว้เยอะเชียว ฉะนั้นนโยบายทางการฑูตทุกอย่างจะต้องสอดคล้องกับจุดประสงค์คือทำอย่างไรก็ได้ให้ฝรั่งเศษที่เยอรมันกลัวที่สุดไม่สามารถจับมือกับใครได้ นโยบายทางการทูตของพี่เยอรมันก้ใช้แบบแข็งกร้าวและผ่อนปรน เช่นให้ฝรั่งเศสขยายอาณานิคมไปในแอฟริกาและเอเชีย ฮันแน่! ในเมื่อเยอรมันเป็นศัตรูกับฝรั่งเศสทำไมต้องเชียร์ให้ฝรั่งเศสขยายดินแดนหล่ะค่ะ คำตอบคือมันเป็นทางจิตวิทยา กล่าวคือฝรั่งเศสแม่มมันแค้นเยอรมันมากๆ ก็เลยอยากจะลดความแค้นของฝรั่งเศสลง เท่านั้นยังไม่พอยังยิงปืนได้นก2ตัวโว้ยยยย
การที่ให้ฝรั่งเศสขยายอิทธิพลในแอฟริกาและเอเชียนั้น มันทำให้ฝรั่งเศสต้องเกิดปัญหากับอังกฤษ (ดินแดนแถบเป็นเขตอิทธิพลอังกฤษครับ) เพราะฉะนั้นฝรั่งเศสจะมีศัตรูเพิ่มขึ้นคืออังกฤษ และตัวเยอรมันเองก็จะสบายไปซักพัก โดยพยายามเบนความสนใจจากตัวเองไปยังฝรั่งเศสแทน (แม่มมมมมมเห็นไหมยิงปืนนัดเดียวได้นก2ตัว ฮ่าๆๆๆ ) แต่ทว่าเยอรมันก็ยังรอบคอบอยู่คือพยายามทำอย่างไรไม่ให้ไอ่ฝรั่งเศสไปจับมือกับใครได้ และตัวเองต้องสร้างศูนย์กลางของสัมพันธไมตรีระหว่างประเทศให้มีอำนาจเหนือกว่าอีกกลุ่มความสัมพันธไมตรีอื่นที่ฝรั่งเศสตั้งขึ้นมาได้ (พูดง่ายๆคือจับมือกับประเทศไหน กูก็ต้องจับมืออีกประเทศที่มีอำนาจมากกว่า) ดังนั้นแน่วคิดเรื่องการรวมคานอำนาจชาติอื่นก็เกิดขึ้นเป็นครั้งแรก
เดี๋ยวpart3 จะมาดูแต่ละประเทศจับมือกับใครบ้างก่อนเป็นสงครามโลกครั้งที่1ครับ
ภาพที่1อิทธิพลของอังกฤษในทวีปแอฟริกาครับ ส่วนอิทธิพลของฝรั่งเศสในแอฟริกาคือภาพที่2 หากเอามาเทียบกันก็จะแบ่งอิทธิพล2ฝั่งคือฝรั่งเศสและอังกฤษ ประเทศอื่นก็มีนะ แต่มีนิดเดียว ตามความคิดของผม คือเหตุผลที่ใครๆก็อยากได้แอฟริกา
1. ใครยืดครองได้รวยยยยยยยยยยยยยยยยย!!! เพราะทวีปนี้วัตถุดิบและทรัพยากรเยอะมากกกกกกกกกกกกกกกกกก เช่นป่าไม้ เพชร พลอย น้ำมัน ก๊าซธรรมชาติ และอื่นๆ
2. เรื่องของแรงงาน ทวีปแอฟริกาใหญ่โตมาก ทรัพยากรเยอะ แต่ประชากรท้องถิ่น (นิโกร) มันไม่เจริญและล้าหลัง พวกประเทศในยุโรปก็แข่งกันเป็นอุตสาหกรรม เพราะฉะนั้นตลาดแรงงานคนจึงสำคัญมาก ปล.มีการเผยแพร่ศาสนาด้วยนะครับ ถือว่าเป็นยึดครองอีกรูปแบบหนึ่ง