หากกล่าวถึงปืนกลชนิดหนึ่งที่อยู่คู่กับกองทัพสหรัฐมาอย่างยาวนาน ร่วมทุกข์ร่วมสุขกับสหรัฐอเมริกามานาน กระสุนที่มันส่งออกไปฆ่าผู้คนมากมายที่เป็นปรปักษ์และภัยต่อสหรัฐอเมริกามามากมายท่ามกลางหยาดเหงื่อและหยาดเลือดของคนที่เหนี่ยวไกมัน มันอยู่คู่กับสหรัฐไม่ว่ากองทัพสหรัฐจะไปทำสงครามหรือปฎิบัติหน้าที่ที่ไหนเราก็จะเห็นมันอยู่ทุกที่อยู่ อยู่บนรถถัง อยู่ในยานพาหนะ ปัจจุบันสหรัฐยังไม่มีความคิดที่จะปลดประจำการมันแม้จะมีโครงการจัดหาปืนชนิดใหม่เพื่อมาทดแทนมันสดท้ายก็โดนยกเลิกไปนั่นพิสูจน์ให้เห็นว่าปืนกลชนิดนี้คือปืนกลที่คลาสสิกที่สุดตลอดการมันก็คือ m2 browning(ในที่นี้จะขอเรียกสั้นๆว่า m2)มันประจำการในกองทัพสหรัฐมามากกว่า 82 ปีซึ่งยาวนานพอที่จะบอกมันแก่กว่าหลายๆคนซะอีก
ความต้องการ
ปืนกลหนักคือส่วนหนึ่งและปัจจัยที่สำคัญต่อสงครามโลกครั้งที่ 1 อย่างมากโดยหน้าที่ของมันตั้งแต่ยิงกดหัวคู่ต่อสู้ สังหารหมู่เหล่าคลื่นมนุษย์ที่วิ่งโห่ร้องเพื่อหมายยึดฐานทัพของฝ่ายตน(สมัยนั้นกลยุทธคลื่นมนุษย์ยังนิยมใช้อยู่) และอีกมากมายเรียกว่ากองทัพขาดมันไม่ได้เลยถ้าต้องการจะทำเป้าหมายของตนเองให้สำเร็จ สหรัฐอเมริการู้เรื่องนี้ดีโดยกองทัพสหรัฐหลังจากจบสงครามโลกครั้งที่ 1 สหรัฐต้องการปืนกลชนิดใหม่เพื่อมาแทนเจ้า colt-vicker m1915 โดยสาเหตุหลักๆคือ ปืนกล vicker นั้นมีน้ำหนักที่มากเกินไปทำให้ตัวปืนนั้นขนย้ายอย่างยากลำบากเพราะมันต้องใช้ถึง 3 คนในการแบกตัว(ขาตั้ง 1 คน ตัวปืน 1 คนและแกลลอนน้ำอีก 1 คน)และระบบระบายความร้อนด้วยน้ำนั้นก็สร้างความยุ่งยากให้กับทางกองทัพอย่างมาก ซึ่งปัญหาคือน้ำนั้นไม่ใช่สิ่งที่หาง่ายในสนามรบการเสียน้ำเพื่อนำไปหล่อเย็นปืนกลนั้น หมายความว่าทหารบางส่วนต้องยอมเสียสละน้ำของตัวเองเพื่อนำไปหล่อเย็น ทำให้สุดท้ายต้องแก้ปัญหาด้วยใช้ปัสสาวะของทหารนำไปหล่อเย็นแทนน้ำ ซึ่งมันไม่ใช่สิ่งที่น่าพิสมัยนั้น
รูปของ colt m1915 vicker ซึ่งพัฒนามากจากปืนกล maxim
การพัฒนา
ผู้บัญชาการกองทัพสหรัฐในตอนนั้น จอร์น.เจ.เพอร์ชิ่ง ได้มีความต้องการปืนกลชนิดใหม่โดยตัวปืนชนิดใหม่นั้นทางเพอร์ชิ่งได้มีความต้องการให้ปืนกลแบบใหม่ใช้กระสุนที่มีอำนาจสังหารสูงกว่ากระสุน 7.62×63mm ซึ่งตอนนั้นทางกองทัพสหรัฐยังไม่สามรถหากระสุนที่มีอำนาจสังหารสูงกว่านี้ได้ โดยในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1 สหรัฐได้ประจักษ์กับความร้ายกาจของเจ้ากระสุนขนาด 13.2×92SR ของทหารเยอรมันที่สามารถยิงทะลุเกราะเหล็กหนาๆของรถถังในตอนนั้นได้ยิ่งจำเป็นอย่างยิ่งที่สหรัฐต้องหากระสุนแบบใหม่เพิ่อใช้กับปืนกลแบบใหม่ของตนที่มีอำนาจร้ายแรงกว่ากระสุนแบบ 13.2×92mm SR ของเยอรมันในตอนนั้นสหรัฐได้นำกระสุนขนาด 11mm French Gras ของฝรั่งเศสมาเป็นต้นแบบในการพัฒนาจนได้กระสุนขนาด 12.7x99mm bmg โดยสาเหตุที่ตั้งชื่อว่า bmg ทุกคนน่าจะรู้ๆเพราะมันคือกระสุนที่จะนำมาใช้กับปืนกลชนิดใหม่นั่นเองนั่นก็คือเจ้า m2 browning หลังจากนอกเรื่องมานาน(ฮา) โดยปืนกลชนิดใหม่นั้นได้ว่าจ้างนักออกแบบปืนอัจฉริยะแห่งยุคอย่าง จอร์น โมเสส บราวนิ่ง มารับหน้าที่ในการออกแบบปืนชนิดนี้โดยตัวปืนในที่บราวนิ่งออกแบบนั้น ใช้ระบบแบบ short recoil ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของตัวบราวนิ่งเองและตัวปืนยังใช้ระบบ bolt แบบปิด หล่อเย็นด้วยน้ำมีอัตราการยิง 650 นัด/นาที และตั้งชื่อว่า m1921 browning machine gun แต่ถึงกระนั้นกองทัพก็ยังไม่พอใจมันมากนักเพราะสาเหตุหลักๆคือมันใช้ระบบทำความเย็นด้วยน้ำและตัวปืนนั้นหนักกว่า 100kg ซึ่งมันหนักเกินไปที่จะเอาติดกับพาหนะหรืออะไรก็ตาม แถมตัวลำกล้องนั้นก็มีปัญหาคือเมื่อยิงออกไปประมาณ 80 นัดตัวปืนจะเกิดอาการลำกล้องร้อนจัดโดยไม่ทราบสาเหตุ
รูปของ m1921 กับทหารสหรัฐในตอนนั้น
ในปี 1926 หลังจากจอร์น บราวนิ่ง เสียชีวิตในช่วงปี 1926-1932 ทางดอกเตอร์ เอส.เอช.กรีน ได้นำเจ้าปืน m1921 นำมาแก้ไขใหม่อีกครั้งโดยเปลี่ยนไปใช้ลำกล้องแบบใหม่ที่หนากว่าเดิม เปลี่ยนโครงปืนใหม่และเปลี่ยนไปใช้ระบบระบายความร้อนด้วยอากาศทำให้ตัวปืนนั้นเบาลงกว่า 60kg โดยเหลือเพียงประมาณ 38-40 kg เท่านั้น หลังจากปรับปรุงเสร็จทางกองทัพสหรัฐก็ได้นำมันเข้าประจำการในปี 1933 ในชื่อ "M2 Machine Gun" หรือในบางที่เรียกมันว่า m1921a1 โดย colt ได้รับหน้าที่ให้ผลิตปืนชนิดนี้
การพัฒนาเพิ่มเติม
หลังจากประจำการไม่นานตัวปืนก็ได้รับการพัฒนาเพิ่มเติมเพื่อติดตั้งบนอากาศยานและเรือรบโดยใช้ลำกล้องแบบใหม่ที่เบาและสั้นกว่าเดิม ลงทำให้ตัวปืนน้ำหนักเหลือเพียง 27kg และถูกนำไปติดตั้งบนอากาศยานโดยตั้งชื่ออย่างเป็นทางการว่า Army/Navy m2 machine gun โดยเรียกสั้นว่า an/m2
รูปของ an/m2
และตัวปืนสำหรับกองทัพอากาศยังได้รับการพัฒนาเพิ่มเติมดังนี้
1.m2 browning t1
เป็นการออกแบบให้ตัวปืนสามารถบรรจุกระสุนได้ทั้งซ้ายและขวา(จากปกติบรรจุได้แค่ข้างเดียว)
2.m2 browning t2(รุ่นมาตรฐานของกองทัพ)
เป็นการออกแบบต่อจากรุ่น t2 โดยเปลี่ยนรังเพลิงแบบใหม่ เพื่อเหมาะสมยิ่งขึ้นกับขนาดกระสุน 12.7x99mm โดยทางกองทัพสหรัฐได้ประกาศให้เจ้า t2 เป็นปืนกลหนักขนาดมาตรฐานของกองทัพ
3.m2 browning t21
ความพยายามของ colt ที่ร่วมมือกับสปริงฟิลด์ในการออกแบบในช่วงปี 1940 โดยเพิ่มอัตรายิงของปืนเป็น 2 เท่าโดยทำให้ m2 t21 มีอัตราการยิงถึง 1200 นัด/นาทีซึ่งต่อมา colt และสปริงฟิลด์พบว่ามันไม่เวิร์คเท่าไหร่เพราะการทำแบบนี้ทำให้ตัวปืนลำกล้องแตกและรังเพลิงและกลไกข้างในมีปัญหาซึ่งต่อมาตัว t21 ก็ได้รับการยกเลิกในที่สุด
4.m2 browning t22
หลังจากเจ้าตัว t21 ไม่ประสบความสำเร็จของ colt และ สปริงฟิลด์ได้ร่วมมือกันอีกในช่วงปี 1942 โดยปืนถูกผลิตออกมา 2 แบบเพื่อนำมาเปรียบเทียบกันโดยโดยตัวปืนกระบอกแรกมีอัตราการยิง 550 นัด/นาที อีกกระบอกหนึ่งมีอัตราการยิง 1000 นัด/นาที ซึ่งต่อมาพบว่าออกมาห่วยแตกทั้งคู่ทำให้โครงการต้องยกเลิกไปอีกครั้ง
5.m2 browning t22e1
คือการนำเจ้า t22 มาพยายามแก้ไขใหม่อีกครั้งหนึ่งแต่ก็เหมือนเดิมตัวปืนยิงไปประมาณ 100 นัดตัวระบบเหนี่ยวไกพัง
6.m2 browning t22e4
โดยความพยายามนำเจ้า e1 มาแก้ไขอีกครั้งในเดือนสิงหาคมปี 1943 ซึ่งพบว่าหลังยิงไปประมาณ 5000 นัดตัวปืนมีอาการลำกล้องแตก และตัวปืนถูกผลิตออกมา 38 กระบอกโดย 36 กระบอกทำงานผิดปกติ อีก 2 กระบอกเจออาการตัวโครงปืนร้าว
7.m2 browning t22e5
เป็นรุ่นพัฒนามาจากเจ้า e4 โดยมีอัตราการยิงประมาณ 1000 นัด/นาที แต่สุดท้ายก็ไม่ได้เข้าประจำการในกองทัพ
8.m2 browning t22e6
หลังจากเข็ดหลาบมาจากการพัฒนารุ่นตะกุล e1-e5 ตัวปืนกระบอกนี้ได้รับการแก้ไขโดยพยายามเปลี่ยนกลไกภายในให้น้อยที่สุดจากของเดิม(เพราะลองเปลี่ยนแบบยกแผงแล้วออกมาห่วย)โดยตัวปืนนั้นตอนแรกออกมาห่วยแตกมาก แต่ก็ถือว่ากลไกภายในของตัวนี้สามารถทำให้กองทัพพอใจทำให้ตัวปืนรุ่นนนี้ได้รับการพัฒนาต่อ
9.m2 browning t25
เป็นการพัฒนาอีกครั้งหนึ่งโดยตัวปืนออกแบบให้มีอัตราการยิง 1200 นัด/นาที และเปลี่ยนตัวลำกล้องปืนแบบใหม่ โครงปืนแบบใหม่และอะไรอีกหลายๆอย่าง แต่ก็เหมือนเดิมคือตัวปืนหลังจากยิงไปได้ประมาณ 2000 นัดตัวปืนมีอาการผิดปกติและแถมตัวปืนร้าวอีกต่างหาก
10.m2 browning t25e1
ตัวปืนได้รับการพัฒนาอีกครั้งในปี 1944 แต่ก็เหมือนเดิมไม่ต่างจากของเก่าเมื่อยิงไปประมาณ 770 นัดตัวปืนเกิดอาการแตกร้าว ทำให้การทดสอบต้องยกเลิกไป
11.m2 browning t25e2
เป็นรุ่นต้นแบบโดยคราวนี้นำระบบ bolt แบบใหม่มาใช้ และใช้ระบบ recoil booster ของเจ้า t22e6 มายัดใส่ดูโดยหลังจากยิงไปประมาณ 1800 นัดตัวปืนมีอาการสปริงภายในตัวปืนเสียอย่างหนักและตัวปืนได้รับการยกเลิกทดสอบ
12.m2 browning t25e3
หลังจากล้มเหลวและห่วยแตกมาเกือบทุกรุ่นในการพัฒนาตัวปืนแบบใหม่ ในที่สุดก็ได้มีการนำเจ้า t25e1 มาทำใหม่อีกรอบและถือว่าประสบความสำเร็จในระดับนึงถึงแม้จะมีตัวปืนอาการจะมีอาการตัว bolt ภายในปืนมีปัญหาตัวสปริงก็มีอาการผิดปกติ แต่ถึงจะเป็นอย่างงั้นทางกองทัพก็ได้ประกาศให้เจ้ากลไกของ e3 เป็นกลไกมาตรฐานของกองทัพอากาศสหรัฐ โดยตัวปืนมีอัตรายิง 1250 นัด/นาที
13.m2 browning t26
เป็นการนำ m2 รุ่น t2 มาพัฒนาอีกรอบ(หลังจากไม่ได้เรื่องมาเกือบทุกรุ่น)โดยใช้โครงปืนแบบใหม่ โดยเปลี่ยนให้รูระบายอากาศนั้นใหญ่ขึ้น และระบบระบายอากาศของเจ้า t22 นำมาใส่แทน
14.m2 browning t27
เป็นการนำชิ้นส่วนใหม่ทั้งหมดมาลองติดตั้งอีกครั้ง แต่ก็ได้รับการยกเลิกในช่วงปี 1944
15.m2 browning t28
เป็นการนำเจ้า m2 มาพัฒนาโดยสปริงฟิงด์ โดยตัวปืนมารถยิงได้ 1200 นัด/นาที โดยไม่มีอาการตัวปืนร้าว
16.m2 browning t34
กองทัพอากาศสหรัฐต้องการให้เจ้า m2 สามารถยิงได้ถึง 1500 นัด/นาที ทางสปริงฟิลด์จึงได้นำตัวปืน t28 มาพัฒนาอีกครั้งโดยเปลี่ยนกลไกแบบใหม่ซึ่งทางกองทัพสหรัฐพึงพอใจอย่างมาก
17.m2 browning t35
เป็นการนำเจ้าปืน t34 มาพัฒนาตอบสนองความต้องการของทัพอีกรอบ
18.m2 browning t36
เป็นเวอร์ชั่นที่พัฒนามาจาก t35 และประสบความสำเร็จอย่างงดงามของ โดยตัวปืนมีอัตรายิง 1500/นาที โดยแก้ไขปัญหาของตัวปืนต่างได้เกือบหมดโดยกองทัพอากาศประกาศให้เจ้า t36 เป็นปืนมาตรฐานของกองทัพ
19.m2 browning t38
หรืออีกชื่อนึงคือ m3 เป็นชื่ออย่างเป็นทางการโดยตัวปืนถูกพัฒนาในช่วง 1945
20.m2 browning t42
เหมือนเจ้า t36 ทุกประการเพียงแต่ใช้ลำกล้องที่หนักกว่าและสั้นกว่าโดยมีอัตรายิง 700 นัด/นาที
21.m2 browning t60
เป็นการพัฒนาอีกครั้งในปี 1948 โดยตัวปืนมีอัตราการยิง 2000 นัด/นาที
22.m2 browning t164
เป็นรุ่นประจำการบนรถถังโดยตัวปืนถูกเปลี่ยนให้มีขนาดสั้นลง
(จริงๆมีอีกหลายรุ่นครับเพียงแต่ ขอเขียนไว้แค่นี้ก่อนเนื่องจากเวลาไม่พอ)
รูป m2 browning รุ่นต่างๆ
M2 กับภารกิจซุ่มยิง
m2 browning นั้นเคยถูกใช้ในภารกิจซุ่มยิงด้วยโดยคนที่ยิงก็คือ คาร์ลอส แฮคคอค โดยคาลอสได้ใช้ปืน m2 แบบติดกล้องเล็งยิงทหารเวียดกลงในระยะกว่า 2000 เมตรเล็งยิง โดยในตอนนั้นสหรัฐยังไม่มีปืนซุ่มยิงหนัก(กว่าจะมาก็ช่วงปี 1980)และสามารถยิงได้ไกลจึงจำเป็นต้องใช้เจ้า browning ดัดแปลงแบบติดกล้องเล็งไปก่อนซึ่งต่อมาได้รับความนิยมอย่างมากในช่วงสงครามเวียดนาม
รูป m2 browning ติดกล้องเล็งไม่ทราบรุ่น
ปัจจุบัน m2 browning คือปืนทีได้รับการพิสูจน์แล้วว่ามันคือปืนที่ดีที่สุดในสงครามไมว่าจะครั้งไหน เพราะด้วยกลไกที่ไว้ใจได้ อำนาจการยิงที่สูง ความแม่นยำของตัวปืนด้วยมนเสน่ห์ของมันทำให้มันตัวปืนนได้รับการประจำการจนมาถึงปัจจุบันในกองทัพสหรัฐ
อ้างอิง
https://en.wikipedia.org/wiki/M2_Browning
http://www.pt103.com/Browning_50_Cal_M2_History.html
http://www.militaryfactory.com/smallarms/detail.asp?smallarms_id=13
M2 Browning สุดยอดปืนกลหนักที่คลาสสิกที่สุดตลอดการ
ความต้องการ
ปืนกลหนักคือส่วนหนึ่งและปัจจัยที่สำคัญต่อสงครามโลกครั้งที่ 1 อย่างมากโดยหน้าที่ของมันตั้งแต่ยิงกดหัวคู่ต่อสู้ สังหารหมู่เหล่าคลื่นมนุษย์ที่วิ่งโห่ร้องเพื่อหมายยึดฐานทัพของฝ่ายตน(สมัยนั้นกลยุทธคลื่นมนุษย์ยังนิยมใช้อยู่) และอีกมากมายเรียกว่ากองทัพขาดมันไม่ได้เลยถ้าต้องการจะทำเป้าหมายของตนเองให้สำเร็จ สหรัฐอเมริการู้เรื่องนี้ดีโดยกองทัพสหรัฐหลังจากจบสงครามโลกครั้งที่ 1 สหรัฐต้องการปืนกลชนิดใหม่เพื่อมาแทนเจ้า colt-vicker m1915 โดยสาเหตุหลักๆคือ ปืนกล vicker นั้นมีน้ำหนักที่มากเกินไปทำให้ตัวปืนนั้นขนย้ายอย่างยากลำบากเพราะมันต้องใช้ถึง 3 คนในการแบกตัว(ขาตั้ง 1 คน ตัวปืน 1 คนและแกลลอนน้ำอีก 1 คน)และระบบระบายความร้อนด้วยน้ำนั้นก็สร้างความยุ่งยากให้กับทางกองทัพอย่างมาก ซึ่งปัญหาคือน้ำนั้นไม่ใช่สิ่งที่หาง่ายในสนามรบการเสียน้ำเพื่อนำไปหล่อเย็นปืนกลนั้น หมายความว่าทหารบางส่วนต้องยอมเสียสละน้ำของตัวเองเพื่อนำไปหล่อเย็น ทำให้สุดท้ายต้องแก้ปัญหาด้วยใช้ปัสสาวะของทหารนำไปหล่อเย็นแทนน้ำ ซึ่งมันไม่ใช่สิ่งที่น่าพิสมัยนั้น
รูปของ colt m1915 vicker ซึ่งพัฒนามากจากปืนกล maxim
การพัฒนา
ผู้บัญชาการกองทัพสหรัฐในตอนนั้น จอร์น.เจ.เพอร์ชิ่ง ได้มีความต้องการปืนกลชนิดใหม่โดยตัวปืนชนิดใหม่นั้นทางเพอร์ชิ่งได้มีความต้องการให้ปืนกลแบบใหม่ใช้กระสุนที่มีอำนาจสังหารสูงกว่ากระสุน 7.62×63mm ซึ่งตอนนั้นทางกองทัพสหรัฐยังไม่สามรถหากระสุนที่มีอำนาจสังหารสูงกว่านี้ได้ โดยในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1 สหรัฐได้ประจักษ์กับความร้ายกาจของเจ้ากระสุนขนาด 13.2×92SR ของทหารเยอรมันที่สามารถยิงทะลุเกราะเหล็กหนาๆของรถถังในตอนนั้นได้ยิ่งจำเป็นอย่างยิ่งที่สหรัฐต้องหากระสุนแบบใหม่เพิ่อใช้กับปืนกลแบบใหม่ของตนที่มีอำนาจร้ายแรงกว่ากระสุนแบบ 13.2×92mm SR ของเยอรมันในตอนนั้นสหรัฐได้นำกระสุนขนาด 11mm French Gras ของฝรั่งเศสมาเป็นต้นแบบในการพัฒนาจนได้กระสุนขนาด 12.7x99mm bmg โดยสาเหตุที่ตั้งชื่อว่า bmg ทุกคนน่าจะรู้ๆเพราะมันคือกระสุนที่จะนำมาใช้กับปืนกลชนิดใหม่นั่นเองนั่นก็คือเจ้า m2 browning หลังจากนอกเรื่องมานาน(ฮา) โดยปืนกลชนิดใหม่นั้นได้ว่าจ้างนักออกแบบปืนอัจฉริยะแห่งยุคอย่าง จอร์น โมเสส บราวนิ่ง มารับหน้าที่ในการออกแบบปืนชนิดนี้โดยตัวปืนในที่บราวนิ่งออกแบบนั้น ใช้ระบบแบบ short recoil ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของตัวบราวนิ่งเองและตัวปืนยังใช้ระบบ bolt แบบปิด หล่อเย็นด้วยน้ำมีอัตราการยิง 650 นัด/นาที และตั้งชื่อว่า m1921 browning machine gun แต่ถึงกระนั้นกองทัพก็ยังไม่พอใจมันมากนักเพราะสาเหตุหลักๆคือมันใช้ระบบทำความเย็นด้วยน้ำและตัวปืนนั้นหนักกว่า 100kg ซึ่งมันหนักเกินไปที่จะเอาติดกับพาหนะหรืออะไรก็ตาม แถมตัวลำกล้องนั้นก็มีปัญหาคือเมื่อยิงออกไปประมาณ 80 นัดตัวปืนจะเกิดอาการลำกล้องร้อนจัดโดยไม่ทราบสาเหตุ
รูปของ m1921 กับทหารสหรัฐในตอนนั้น
ในปี 1926 หลังจากจอร์น บราวนิ่ง เสียชีวิตในช่วงปี 1926-1932 ทางดอกเตอร์ เอส.เอช.กรีน ได้นำเจ้าปืน m1921 นำมาแก้ไขใหม่อีกครั้งโดยเปลี่ยนไปใช้ลำกล้องแบบใหม่ที่หนากว่าเดิม เปลี่ยนโครงปืนใหม่และเปลี่ยนไปใช้ระบบระบายความร้อนด้วยอากาศทำให้ตัวปืนนั้นเบาลงกว่า 60kg โดยเหลือเพียงประมาณ 38-40 kg เท่านั้น หลังจากปรับปรุงเสร็จทางกองทัพสหรัฐก็ได้นำมันเข้าประจำการในปี 1933 ในชื่อ "M2 Machine Gun" หรือในบางที่เรียกมันว่า m1921a1 โดย colt ได้รับหน้าที่ให้ผลิตปืนชนิดนี้
การพัฒนาเพิ่มเติม
หลังจากประจำการไม่นานตัวปืนก็ได้รับการพัฒนาเพิ่มเติมเพื่อติดตั้งบนอากาศยานและเรือรบโดยใช้ลำกล้องแบบใหม่ที่เบาและสั้นกว่าเดิม ลงทำให้ตัวปืนน้ำหนักเหลือเพียง 27kg และถูกนำไปติดตั้งบนอากาศยานโดยตั้งชื่ออย่างเป็นทางการว่า Army/Navy m2 machine gun โดยเรียกสั้นว่า an/m2
รูปของ an/m2
และตัวปืนสำหรับกองทัพอากาศยังได้รับการพัฒนาเพิ่มเติมดังนี้
1.m2 browning t1
เป็นการออกแบบให้ตัวปืนสามารถบรรจุกระสุนได้ทั้งซ้ายและขวา(จากปกติบรรจุได้แค่ข้างเดียว)
2.m2 browning t2(รุ่นมาตรฐานของกองทัพ)
เป็นการออกแบบต่อจากรุ่น t2 โดยเปลี่ยนรังเพลิงแบบใหม่ เพื่อเหมาะสมยิ่งขึ้นกับขนาดกระสุน 12.7x99mm โดยทางกองทัพสหรัฐได้ประกาศให้เจ้า t2 เป็นปืนกลหนักขนาดมาตรฐานของกองทัพ
3.m2 browning t21
ความพยายามของ colt ที่ร่วมมือกับสปริงฟิลด์ในการออกแบบในช่วงปี 1940 โดยเพิ่มอัตรายิงของปืนเป็น 2 เท่าโดยทำให้ m2 t21 มีอัตราการยิงถึง 1200 นัด/นาทีซึ่งต่อมา colt และสปริงฟิลด์พบว่ามันไม่เวิร์คเท่าไหร่เพราะการทำแบบนี้ทำให้ตัวปืนลำกล้องแตกและรังเพลิงและกลไกข้างในมีปัญหาซึ่งต่อมาตัว t21 ก็ได้รับการยกเลิกในที่สุด
4.m2 browning t22
หลังจากเจ้าตัว t21 ไม่ประสบความสำเร็จของ colt และ สปริงฟิลด์ได้ร่วมมือกันอีกในช่วงปี 1942 โดยปืนถูกผลิตออกมา 2 แบบเพื่อนำมาเปรียบเทียบกันโดยโดยตัวปืนกระบอกแรกมีอัตราการยิง 550 นัด/นาที อีกกระบอกหนึ่งมีอัตราการยิง 1000 นัด/นาที ซึ่งต่อมาพบว่าออกมาห่วยแตกทั้งคู่ทำให้โครงการต้องยกเลิกไปอีกครั้ง
5.m2 browning t22e1
คือการนำเจ้า t22 มาพยายามแก้ไขใหม่อีกครั้งหนึ่งแต่ก็เหมือนเดิมตัวปืนยิงไปประมาณ 100 นัดตัวระบบเหนี่ยวไกพัง
6.m2 browning t22e4
โดยความพยายามนำเจ้า e1 มาแก้ไขอีกครั้งในเดือนสิงหาคมปี 1943 ซึ่งพบว่าหลังยิงไปประมาณ 5000 นัดตัวปืนมีอาการลำกล้องแตก และตัวปืนถูกผลิตออกมา 38 กระบอกโดย 36 กระบอกทำงานผิดปกติ อีก 2 กระบอกเจออาการตัวโครงปืนร้าว
7.m2 browning t22e5
เป็นรุ่นพัฒนามาจากเจ้า e4 โดยมีอัตราการยิงประมาณ 1000 นัด/นาที แต่สุดท้ายก็ไม่ได้เข้าประจำการในกองทัพ
8.m2 browning t22e6
หลังจากเข็ดหลาบมาจากการพัฒนารุ่นตะกุล e1-e5 ตัวปืนกระบอกนี้ได้รับการแก้ไขโดยพยายามเปลี่ยนกลไกภายในให้น้อยที่สุดจากของเดิม(เพราะลองเปลี่ยนแบบยกแผงแล้วออกมาห่วย)โดยตัวปืนนั้นตอนแรกออกมาห่วยแตกมาก แต่ก็ถือว่ากลไกภายในของตัวนี้สามารถทำให้กองทัพพอใจทำให้ตัวปืนรุ่นนนี้ได้รับการพัฒนาต่อ
9.m2 browning t25
เป็นการพัฒนาอีกครั้งหนึ่งโดยตัวปืนออกแบบให้มีอัตราการยิง 1200 นัด/นาที และเปลี่ยนตัวลำกล้องปืนแบบใหม่ โครงปืนแบบใหม่และอะไรอีกหลายๆอย่าง แต่ก็เหมือนเดิมคือตัวปืนหลังจากยิงไปได้ประมาณ 2000 นัดตัวปืนมีอาการผิดปกติและแถมตัวปืนร้าวอีกต่างหาก
10.m2 browning t25e1
ตัวปืนได้รับการพัฒนาอีกครั้งในปี 1944 แต่ก็เหมือนเดิมไม่ต่างจากของเก่าเมื่อยิงไปประมาณ 770 นัดตัวปืนเกิดอาการแตกร้าว ทำให้การทดสอบต้องยกเลิกไป
11.m2 browning t25e2
เป็นรุ่นต้นแบบโดยคราวนี้นำระบบ bolt แบบใหม่มาใช้ และใช้ระบบ recoil booster ของเจ้า t22e6 มายัดใส่ดูโดยหลังจากยิงไปประมาณ 1800 นัดตัวปืนมีอาการสปริงภายในตัวปืนเสียอย่างหนักและตัวปืนได้รับการยกเลิกทดสอบ
12.m2 browning t25e3
หลังจากล้มเหลวและห่วยแตกมาเกือบทุกรุ่นในการพัฒนาตัวปืนแบบใหม่ ในที่สุดก็ได้มีการนำเจ้า t25e1 มาทำใหม่อีกรอบและถือว่าประสบความสำเร็จในระดับนึงถึงแม้จะมีตัวปืนอาการจะมีอาการตัว bolt ภายในปืนมีปัญหาตัวสปริงก็มีอาการผิดปกติ แต่ถึงจะเป็นอย่างงั้นทางกองทัพก็ได้ประกาศให้เจ้ากลไกของ e3 เป็นกลไกมาตรฐานของกองทัพอากาศสหรัฐ โดยตัวปืนมีอัตรายิง 1250 นัด/นาที
13.m2 browning t26
เป็นการนำ m2 รุ่น t2 มาพัฒนาอีกรอบ(หลังจากไม่ได้เรื่องมาเกือบทุกรุ่น)โดยใช้โครงปืนแบบใหม่ โดยเปลี่ยนให้รูระบายอากาศนั้นใหญ่ขึ้น และระบบระบายอากาศของเจ้า t22 นำมาใส่แทน
14.m2 browning t27
เป็นการนำชิ้นส่วนใหม่ทั้งหมดมาลองติดตั้งอีกครั้ง แต่ก็ได้รับการยกเลิกในช่วงปี 1944
15.m2 browning t28
เป็นการนำเจ้า m2 มาพัฒนาโดยสปริงฟิงด์ โดยตัวปืนมารถยิงได้ 1200 นัด/นาที โดยไม่มีอาการตัวปืนร้าว
16.m2 browning t34
กองทัพอากาศสหรัฐต้องการให้เจ้า m2 สามารถยิงได้ถึง 1500 นัด/นาที ทางสปริงฟิลด์จึงได้นำตัวปืน t28 มาพัฒนาอีกครั้งโดยเปลี่ยนกลไกแบบใหม่ซึ่งทางกองทัพสหรัฐพึงพอใจอย่างมาก
17.m2 browning t35
เป็นการนำเจ้าปืน t34 มาพัฒนาตอบสนองความต้องการของทัพอีกรอบ
18.m2 browning t36
เป็นเวอร์ชั่นที่พัฒนามาจาก t35 และประสบความสำเร็จอย่างงดงามของ โดยตัวปืนมีอัตรายิง 1500/นาที โดยแก้ไขปัญหาของตัวปืนต่างได้เกือบหมดโดยกองทัพอากาศประกาศให้เจ้า t36 เป็นปืนมาตรฐานของกองทัพ
19.m2 browning t38
หรืออีกชื่อนึงคือ m3 เป็นชื่ออย่างเป็นทางการโดยตัวปืนถูกพัฒนาในช่วง 1945
20.m2 browning t42
เหมือนเจ้า t36 ทุกประการเพียงแต่ใช้ลำกล้องที่หนักกว่าและสั้นกว่าโดยมีอัตรายิง 700 นัด/นาที
21.m2 browning t60
เป็นการพัฒนาอีกครั้งในปี 1948 โดยตัวปืนมีอัตราการยิง 2000 นัด/นาที
22.m2 browning t164
เป็นรุ่นประจำการบนรถถังโดยตัวปืนถูกเปลี่ยนให้มีขนาดสั้นลง
(จริงๆมีอีกหลายรุ่นครับเพียงแต่ ขอเขียนไว้แค่นี้ก่อนเนื่องจากเวลาไม่พอ)
รูป m2 browning รุ่นต่างๆ
M2 กับภารกิจซุ่มยิง
m2 browning นั้นเคยถูกใช้ในภารกิจซุ่มยิงด้วยโดยคนที่ยิงก็คือ คาร์ลอส แฮคคอค โดยคาลอสได้ใช้ปืน m2 แบบติดกล้องเล็งยิงทหารเวียดกลงในระยะกว่า 2000 เมตรเล็งยิง โดยในตอนนั้นสหรัฐยังไม่มีปืนซุ่มยิงหนัก(กว่าจะมาก็ช่วงปี 1980)และสามารถยิงได้ไกลจึงจำเป็นต้องใช้เจ้า browning ดัดแปลงแบบติดกล้องเล็งไปก่อนซึ่งต่อมาได้รับความนิยมอย่างมากในช่วงสงครามเวียดนาม
รูป m2 browning ติดกล้องเล็งไม่ทราบรุ่น
ปัจจุบัน m2 browning คือปืนทีได้รับการพิสูจน์แล้วว่ามันคือปืนที่ดีที่สุดในสงครามไมว่าจะครั้งไหน เพราะด้วยกลไกที่ไว้ใจได้ อำนาจการยิงที่สูง ความแม่นยำของตัวปืนด้วยมนเสน่ห์ของมันทำให้มันตัวปืนนได้รับการประจำการจนมาถึงปัจจุบันในกองทัพสหรัฐ
อ้างอิง
https://en.wikipedia.org/wiki/M2_Browning
http://www.pt103.com/Browning_50_Cal_M2_History.html
http://www.militaryfactory.com/smallarms/detail.asp?smallarms_id=13