ความคิดเห็นที่ 7-1
กล่าวเอาเองหรือ กล่าวตามหลักฐานครับ ถ้ามีหลักฐานก็ขอความอนุเคราะห์ด้วยครับ
หลักฐานหรือพระสูตรไหนบ้างไหนที่บอกว่าปุถุชนไม่อาจแยกได้ว่าใครเป็นสัสสตทิฐิ หรือ อุจเฉททิฐิ? ขอบคุณล่วงหน้าครับ.
แก้ไขข้อความเมื่อ 15 ชั่วโมงที่แล้ว
ตอบกลับ
0 1
สมาชิกหมายเลข 1790723
15 ชั่วโมงที่แล้ว
สมาชิกหมายเลข 1032939 ถูกใจ
ความคิดเห็นที่ 7-2
[๒๕๓] พระผู้มีพระภาคจึงได้ตรัสดังนี้ว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็สัมมา-
*สมาธิของพระอริยะ อันมีเหตุ มีองค์ประกอบ คือ สัมมาทิฐิ สัมมาสังกัปปะ
สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ เป็นไฉน
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ความที่จิตมีอารมณ์เป็นหนึ่ง ประกอบแล้วด้วยองค์ ๗ เหล่านี้แล
เรียกว่า สัมมาสมาธิของพระอริยะ อันมีเหตุบ้าง มีองค์ประกอบบ้าง ฯ
[๒๕๔] ดูกรภิกษุทั้งหลาย บรรดาองค์ทั้ง ๗ นั้น สัมมาทิฐิย่อมเป็น
ประธาน ก็สัมมาทิฐิย่อมเป็นประธานอย่างไร คือ ภิกษุรู้จักมิจฉาทิฐิว่ามิจฉาทิฐิ
รู้จักสัมมาทิฐิว่าสัมมาทิฐิ ความรู้ของเธอนั้น เป็นสัมมาทิฐิ ฯ
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=14&A=3724&Z=3923&pagebreak=0
ตอบกลับ
0 0
สมาชิกหมายเลข 1831258
10 ชั่วโมงที่แล้ว
ความคิดเห็นที่ 7-3
ถาม - หลักฐานหรือพระสูตรไหนบ้างไหนที่บอกว่าปุถุชนไม่อาจแยกได้ว่าใครเป็นสัสสตทิฐิ หรือ อุจเฉททิฐิ?
ตอบ - ภิกษุรู้จักมิจฉาทิฐิว่ามิจฉาทิฐิ รู้จักสัมมาทิฐิว่าสัมมาทิฐิ ความรู้ของเธอนั้น เป็นสัมมาทิฐิ ฯ
ถาม - ไปไหนมา
ตอบ - สามวาสองศอก
คนถาม- @%#^%%^????????..........
แก้ไขข้อความเมื่อ 1 ชั่วโมงที่แล้ว
ตอบกลับ
0 1
สมาชิกหมายเลข 1790723
1 ชั่วโมงที่แล้ว
สมาชิกหมายเลข 2277768 ถูกใจ
ขออนุญาต ถามแย้งนะครับ ว่า สามวาสองศอกตรงไหนครับท่าน ?
1 พระพุทธเจ้าตรัสว่า สัมมาสมาธิของพระอริยะ ต้องประกอบด้วยองค์ประกอบเจ็ดประการคือ สัมมาทิฐิ ฯลฯ
ตรงนี้ แสดงว่า สัมมาทิฐิ ที่ตรัสถึง ก็คือ สัมมาทิฐิของอริยบุคคล ใช่ไหมครับ ?
2 ตรัสอธิบายต่อไปว่า ในบรรดาองค์ประกอบเจ็ดอย่างนั้น สัมมาทิฐิเป็นประธาน
เป็นประธานอย่างไร ? คือ รู้จักมิจฉาทิฐิว่ามิจฉาทิฐิ รู้จักสัมมาทิฐิว่าสัมมาทิฐิ ความรู้อย่างนี้แหละ คือ สัมมาทิฐิ(ของอริยบุคคล)
3 สรุปความ ก็คือ พระพุทธเจ้าตรัสว่า สัมมาทิฐิระดับอริยะ หมายถึง ความรู้ในการแยกแยะได้ว่า อันไหนคือสัมมาทิฐิ อันไหนคือมิจฉาทิฐิ
คำถามก็คือ พระสูตรนี้ ยังไม่ตอบโจทย์ อีกหรือครับท่าน ?
ทีนี้ ถ้าท่านอยากจะแย้งว่า ปุถุชนผู้บริโภคกาม ก็สามารถแยกแยะ สัมมาทิฐิ และ มิจฉาทิฐิได้ ท่านก็ยกพระสูตรมาแย้ง มาคัดค้านสิครับ
ไม่ใช่มาพูดจายอกย้อน ตีฝึปาก กล่าวมิจฉาวาจา เสียดสีผู้อื่น ให้เป็นบาปกรรมติดตัวไปแบบนี้ มัน ไร้สาระครับท่าน
เห็นว่ารักและปกป้องพระไตรปิฎกกันมาก แต่ผมก็อดสงสัยไม่ได้ว่า พวกท่านสนใจศึกษาสิ่งที่พยายามปกป้องกันบ้างหรือเปล่าครับ ?
หรือว่าเน้นสร้างภาพอย่างเดียวหละครับท่าน ?
[๒๕๓] พระผู้มีพระภาคจึงได้ตรัสดังนี้ว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย
ก็สัมมา-
*สมาธิของพระอริยะ อันมีเหตุ มีองค์ประกอบ คือ สัมมาทิฐิ สัมมาสังกัปปะ
สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ เป็นไฉน
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ความที่จิตมีอารมณ์เป็นหนึ่ง ประกอบแล้วด้วยองค์ ๗ เหล่านี้แล
เรียกว่า สัมมาสมาธิของพระอริยะ อันมีเหตุบ้าง มีองค์ประกอบบ้าง ฯ
[๒๕๔] ดูกรภิกษุทั้งหลาย บรรดาองค์ทั้ง ๗ นั้น สัมมาทิฐิย่อมเป็น
ประธาน
ก็สัมมาทิฐิย่อมเป็นประธานอย่างไร คือ ภิกษุรู้จักมิจฉาทิฐิว่ามิจฉาทิฐิ
รู้จักสัมมาทิฐิว่าสัมมาทิฐิ ความรู้ของเธอนั้น เป็นสัมมาทิฐิ ฯ
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=14&A=3724&Z=3923&pagebreak=0
หลักฐานหรือพระสูตรไหนบ้าง ที่บอกว่าปุถุชนไม่อาจแยกได้ว่าใครเป็นสัสสตทิฐิ หรือ อุจเฉททิฐิ ?
กล่าวเอาเองหรือ กล่าวตามหลักฐานครับ ถ้ามีหลักฐานก็ขอความอนุเคราะห์ด้วยครับ
หลักฐานหรือพระสูตรไหนบ้างไหนที่บอกว่าปุถุชนไม่อาจแยกได้ว่าใครเป็นสัสสตทิฐิ หรือ อุจเฉททิฐิ? ขอบคุณล่วงหน้าครับ.
แก้ไขข้อความเมื่อ 15 ชั่วโมงที่แล้ว
ตอบกลับ
0 1
สมาชิกหมายเลข 1790723
15 ชั่วโมงที่แล้ว
สมาชิกหมายเลข 1032939 ถูกใจ
ความคิดเห็นที่ 7-2
[๒๕๓] พระผู้มีพระภาคจึงได้ตรัสดังนี้ว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็สัมมา-
*สมาธิของพระอริยะ อันมีเหตุ มีองค์ประกอบ คือ สัมมาทิฐิ สัมมาสังกัปปะ
สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ เป็นไฉน
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ความที่จิตมีอารมณ์เป็นหนึ่ง ประกอบแล้วด้วยองค์ ๗ เหล่านี้แล
เรียกว่า สัมมาสมาธิของพระอริยะ อันมีเหตุบ้าง มีองค์ประกอบบ้าง ฯ
[๒๕๔] ดูกรภิกษุทั้งหลาย บรรดาองค์ทั้ง ๗ นั้น สัมมาทิฐิย่อมเป็น
ประธาน ก็สัมมาทิฐิย่อมเป็นประธานอย่างไร คือ ภิกษุรู้จักมิจฉาทิฐิว่ามิจฉาทิฐิ
รู้จักสัมมาทิฐิว่าสัมมาทิฐิ ความรู้ของเธอนั้น เป็นสัมมาทิฐิ ฯ
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=14&A=3724&Z=3923&pagebreak=0
ตอบกลับ
0 0
สมาชิกหมายเลข 1831258
10 ชั่วโมงที่แล้ว
ความคิดเห็นที่ 7-3
ถาม - หลักฐานหรือพระสูตรไหนบ้างไหนที่บอกว่าปุถุชนไม่อาจแยกได้ว่าใครเป็นสัสสตทิฐิ หรือ อุจเฉททิฐิ?
ตอบ - ภิกษุรู้จักมิจฉาทิฐิว่ามิจฉาทิฐิ รู้จักสัมมาทิฐิว่าสัมมาทิฐิ ความรู้ของเธอนั้น เป็นสัมมาทิฐิ ฯ
ถาม - ไปไหนมา
ตอบ - สามวาสองศอก
คนถาม- @%#^%%^????????..........
แก้ไขข้อความเมื่อ 1 ชั่วโมงที่แล้ว
ตอบกลับ
0 1
สมาชิกหมายเลข 1790723
1 ชั่วโมงที่แล้ว
สมาชิกหมายเลข 2277768 ถูกใจ
ขออนุญาต ถามแย้งนะครับ ว่า สามวาสองศอกตรงไหนครับท่าน ?
1 พระพุทธเจ้าตรัสว่า สัมมาสมาธิของพระอริยะ ต้องประกอบด้วยองค์ประกอบเจ็ดประการคือ สัมมาทิฐิ ฯลฯ
ตรงนี้ แสดงว่า สัมมาทิฐิ ที่ตรัสถึง ก็คือ สัมมาทิฐิของอริยบุคคล ใช่ไหมครับ ?
2 ตรัสอธิบายต่อไปว่า ในบรรดาองค์ประกอบเจ็ดอย่างนั้น สัมมาทิฐิเป็นประธาน
เป็นประธานอย่างไร ? คือ รู้จักมิจฉาทิฐิว่ามิจฉาทิฐิ รู้จักสัมมาทิฐิว่าสัมมาทิฐิ ความรู้อย่างนี้แหละ คือ สัมมาทิฐิ(ของอริยบุคคล)
3 สรุปความ ก็คือ พระพุทธเจ้าตรัสว่า สัมมาทิฐิระดับอริยะ หมายถึง ความรู้ในการแยกแยะได้ว่า อันไหนคือสัมมาทิฐิ อันไหนคือมิจฉาทิฐิ
คำถามก็คือ พระสูตรนี้ ยังไม่ตอบโจทย์ อีกหรือครับท่าน ?
ทีนี้ ถ้าท่านอยากจะแย้งว่า ปุถุชนผู้บริโภคกาม ก็สามารถแยกแยะ สัมมาทิฐิ และ มิจฉาทิฐิได้ ท่านก็ยกพระสูตรมาแย้ง มาคัดค้านสิครับ
ไม่ใช่มาพูดจายอกย้อน ตีฝึปาก กล่าวมิจฉาวาจา เสียดสีผู้อื่น ให้เป็นบาปกรรมติดตัวไปแบบนี้ มัน ไร้สาระครับท่าน
เห็นว่ารักและปกป้องพระไตรปิฎกกันมาก แต่ผมก็อดสงสัยไม่ได้ว่า พวกท่านสนใจศึกษาสิ่งที่พยายามปกป้องกันบ้างหรือเปล่าครับ ?
หรือว่าเน้นสร้างภาพอย่างเดียวหละครับท่าน ?
[๒๕๓] พระผู้มีพระภาคจึงได้ตรัสดังนี้ว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็สัมมา-
*สมาธิของพระอริยะ อันมีเหตุ มีองค์ประกอบ คือ สัมมาทิฐิ สัมมาสังกัปปะ
สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ เป็นไฉน
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ความที่จิตมีอารมณ์เป็นหนึ่ง ประกอบแล้วด้วยองค์ ๗ เหล่านี้แล
เรียกว่า สัมมาสมาธิของพระอริยะ อันมีเหตุบ้าง มีองค์ประกอบบ้าง ฯ
[๒๕๔] ดูกรภิกษุทั้งหลาย บรรดาองค์ทั้ง ๗ นั้น สัมมาทิฐิย่อมเป็น
ประธาน ก็สัมมาทิฐิย่อมเป็นประธานอย่างไร คือ ภิกษุรู้จักมิจฉาทิฐิว่ามิจฉาทิฐิ
รู้จักสัมมาทิฐิว่าสัมมาทิฐิ ความรู้ของเธอนั้น เป็นสัมมาทิฐิ ฯ
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=14&A=3724&Z=3923&pagebreak=0