คนที่ชื่นชอบไบเบิลฉบับแปลคิงเจมส์ คิดว่าไบเบิลที่เขาชอบ พอออกมาในปี ค.ศ.๑๖๑๑ ก็เป็นผลงานชิ้นเอกทันที, แต่ความจริงกว่าจะเป็นฉบับแปลคิงเจมส์(ภาษาอังกฤษ) ที่ได้รับการยอมรับต่อเนื่องมา สี่ร้อยปี มีเหตุการณ์แวดล้อมอะไร เกิดขึ้นกับไบเบิลฉบับนี้บ้าง: นี่คือเรื่องจริง
ตอนที่พระเจ้าคิงเจมส์ที่ ๑ ประเทศอังกฤษ ขึ้นครองราชย์ เริ่มต้นด้วยความไม่ลงรอยกันในราชอาณาจักร, มีความแตกแยก กำลังซวนเซจากการต่อสู้แข่งขันทางศาสนาที่มีมานานนับร้อยปี. พวกแองลิกัน,พิวริตัน,และคาทอลิค แต่ละนิกายพยายามแสวงหาอำนาจในศาสนาจักรและการปกครอง. ในเรื่องคัมภีร์ไบเบิล, แต่ละนิกาย มีไบเบิลเป็นของตนเอง(ตามลำดับดังนี้ :
นิกายแองลิกัน ใช้ฉบับบิชอป,
พิวริตัน ใช้ฉบับเจนีวา ,
คาทอลิค ใช้ฉบับแรงส์ (Douay-Rheims) ที่จะได้เห็นรายละเอียดกัน )
แรงจูงใจในการปกครองของพระเจ้าเจมส์ คือความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน แต่สภาพประเทศอังกฤษในขณะนั้น ดูเหมือนจะห่างไกล, พระองค์พยายามอุปถัมภ์ศาสนาทุกนิกายในอาณาจักร โดยตั้งนักวิชาการผู้ศึกษาเรื่องหนึ่งเรื่องใดโดยเฉพาะ จำนวน ๔๗ คน ร่วมกันทำงานเพื่อสร้างไบเบิลฉบับแปลใหม่ขึ้นมา ๑ ฉบับ ใช้อ่านกันในศาสนจักรทุกแห่ง สิ่งที่ได้จากการคณะกรรมการที่โต้เถียงกันด้วยสติปัญญา เป็นหนึ่งของงานที่ยั่งยืนและได้รับความนิยมมากที่สุดในประวัติศาสตร์ของภาษาอังกฤษ, แต่ไม่มีใครในเวลานั้น หรือในอีกสิบปีต่อมา คาดเดาว่าฉบับแปลคิงเจมส์ที่มีสถานะเป็นสัญลักษณ์นี้ ที่ตอนแรก มีศัตรูจำนวนมาก.
“ข้าพเจ้าอยากนำ(ไบเบิลฉบับแปลคิงเจมส์)ไปเผา”
ผู้แปล ฉบับแปลคิงเจมส์ (KJV.ชื่อย่อที่เป็นอักษรตัวใหญ่เสมอ) เตรียมเขียนบทนำ ขนาดยาว ให้กับฉบับพิมพ์ปี ๑๖๑๑ เสมือนหนึ่ง พวกเขามีความรู้สึกว่า จำเป็นต้องอธิบายว่าพวกเขาทำอะไรขึ้นมา บทนำนั้นมีข้อความตอนหนึ่งเขียนไว้ว่า:
“ที่จริง, นักอ่านคต.ที่ดี, พวกเราไม่ได้คิดตั้งแต่เริ่มต้นว่า จำเป็นต้องมีฉบับแปลใหม่ ทั้งไม่จำเป็นต้องทำให้เล่มที่ไม่ดี ดีขึ้น . . . แต่ทำให้เล่มที่ดี ดีขึ้นไปอีก...”
เป็นที่ชัดเจนว่า คนแปลหลายคนเตรียมการแต่แรกแล้วว่า ต้องมีการต่อต้านฉบับแปลใหม่ และมีการต่อต้านจริงๆ ดร.ฮิว บรอจ์ตัน, นักวิชาการภาษาฮีบรูที่มีชื่อเสียง แต่มีคนไม่ชอบเขามาก ได้กล่าวโจมตีก่อน การไม่พอใจของเขาที่มีต่อกษัตริย์. ทำให้กษัตริย์ไม่พอใจเขาเช่นกัน ผลก็คือเขาไม่อยู่ในรายชื่อผู้แปลไบเบิลลำดับแรกๆ บรูตันกล่าวว่า:
“ไบเบิลฉบับล่าสุด . . . ที่ส่งมาให้ข้าพเจ้าตรวจ: ทำให้รู้สึกเศร้า ทุกครั้งที่อ่าน ทำออกมาอย่างไม่ดี. บอกพระเจ้าแผ่นดินว่า ข้าพเจ้าคิดว่า แย่กว่าการแปล ใดๆที่เคยมี ตามความเห็นของข้าพเจ้า. ข้าพเจ้ายอมตาย แทนที่จะยอมรับการแปลใดๆนั้น . . .ฉบับแปลใหม่ทำความฉุนเฉียวแก่ข้าพเจ้ามากที่สุด “ อยากให้นำไปเผา.”เราอาจสงสัยว่า บรอจ์ตัน พูดถึงองุ่นเปรี้ยว : แต่ที่จริง บรอจ์ตัน ใช้เวลา มากกว่า ๓๐ ปี ทำการแปลไบเบิลของตนเอง โดยใช้ฉบับแปลเจนีวา ที่เขาชอบ เป็นแนวทางในการแปล.
สภาพแวดล้อมในตอนนั้นมาจากสถานการณ์ทางการเมืองในเวลานั้น, การต่อต้านฉบับแปลใหม่โดยมากจะเป็นแบบเฉยเมย. ยังมีการอ่านไบเบิลฉบับบิชอป (นิกายแอลิกันใช้ฉบับบิชอป) ในโบสถ์อย่างต่อเนื่อง; คนที่เคร่งจะนิยมอ่านไบเบิลฉบับเจนีวา เป็นส่วนตัว (นิกายพิวริตัน). เป็นเวลาหลายปี, นักแปลชั้นนำ บิชอป แลนช์ลอท แอนดรู เองยังคงอ้างข้อคัมภีร์จากเวอร์ชั่นที่เก่ากว่า. อดัม นิโคลสัน, ผู้เขียน หนังสือ ”เลขาของพระเจ้า, สรุปว่า การยอมรับ ฉบับแปลคิงเจมส์ ในตอนแรกว่า; “ไม่ได้ผลแต่อย่างใด เป็นความล้มเหลว...มีแต่คนรังเกียจกันทั่วไป” พวกพิวริตันทุกคน รวมทั้งคนที่อพยพไป เมสซาจูเซท ยังคงใช้ไบเบิลฉบับเจนีวา แม้แต่ในบทนำของฉบับแปลคิงเจมส์เอง ไม่ได้เขียนขึ้นเอง แต่มาจาก ไบเบิลฉบับเจนีวา (คน)จึง (รู้สึก) “ไม่ชอบอยู่ลึกๆ,”
เริ่มเค้าลางร้าย
ในขณะที่กำลังมีการประชุมแฮมตัน คอร์ด ปี 1604 ผู้คนยังอ่านไบเบิลฉบับเจนีวา เป็นลางบอก สิ่งที่ฉบับแปลคิงเจมส์ ต้องเผชิญ หลังจากการปรากฏตัวครั้งแรก ในปี ๑๖๑๑
ไบเบิลของพวกพิวริตัน(ฉบับเจนีวา)คือคู่แข่งของฉบับแปลคิงเจมส์
คู่แข่งที่ใหญ่ที่สุด ของฉบับแปลคิงเจมส์ ในความรู้สึกของประชาชน คือ ไบเบิลฉบับเจนีวา. ความจริง หลังจากผลิตฉบับของกษัตริย์คิงเจมส์ ได้ไม่นาน, พระเจ้าเจมส์ สั่งห้ามการพิมพ์ไบเบิลฉบับเจนีวาใดๆ ขึ้นมาใหม่ ไม่ว่าในรูปแบบใด, เพื่อที่คนจะหันไปใช้ฉบับแปลคิงเจมส์กันมากขึ้น แต่วิธีการนั้น ยังไม่ทำให้ไบเบิลฉบับแปลคิงเจมส์ได้รับความนิยม. คนพิมพ์ยังพิมพ์ฉบับที่ห้ามพิมพ์ต่อไป โดยการพิมพ์วันที่บนปก ให้เป็นวันที่ก่อนหน้าวันห้ามพิมพ์, เพื่อให้ดูเป็นไบเบิลฉบับพิมพ์ก่อนหน้านั้น. อะไรทำให้ไบเบิลฉบับเจนีวา เป็นคู่แข่งขันที่น่ากลัวของฉบับแปลใหม่ของกษัตริย์?
จะเข้าใจได้ชัดเจน ก็ต่อเมื่อเรารู้ความเป็นมาของไบเบิลฉบับเจนีวา. ภายใต้การปกครองของราชินีแมรี ที่นับถือโรมันคาทอลิค ที่ครองราชย์ตั้งแต่ปี ๑๕๕๓ ชาวคริสต์นิกายโปรเตสแตนท์ ที่กล้าหาญ ปกป้องความสามารถ ในการปฏิบัติศาสนาของพวกเขาได้ โดยไม่ถูกขัดขวางและมีศักยภาพในการดำเนินชีวิตของพวกเขา— พวกนี้หลบหนี ไปกรุงเจนีวา ประเทศสวิตฯ. ที่นี่เอง ที่ผู้นับถือนิกายโปรเตสแตนท์เริ่มทำการแปลไบเบิลใหม่, ตั้งชื่อไบเบิล(ฉบับเจนีวา) ตามเมืองที่คาลวิล ได้ช่วยเปลี่ยนให้เป็นที่อยู่รวมกันของพวกโปรเตสแตนท์ (เมกกะโปรเตสแจนท์) ผู้นำในการแปลหลักๆ มี ๔ คน
๑) คือวิลเลียม วิททิงแฮม, อดีตนักศึกษา ที่ Christ Church,ม.อ๊อกฟอร์ด;
๒) คริสตโตเฟอร์ กู๊ด- ผู้หลีกเลี่ยงการเผชิญหน้า;
๓) โทมัส แซมสัน ผู้อยู่ในนิกายคาลวิน ต่อมาบวชโดยบิชอป ริดเลย์ ตามพิธีการและระเบียบนิกายแอลลิกัน
๔) ริชาร์ด ค๊อก, ผู้นับถือนิกายลูเธอร์แรนและอธิการอีตัน.
ไบเบิลฉบับแปลคิงเจมส์ : ไม่ใช่ความสำเร็จชั่วข้ามคืน (ตอนที่1)
คนที่ชื่นชอบไบเบิลฉบับแปลคิงเจมส์ คิดว่าไบเบิลที่เขาชอบ พอออกมาในปี ค.ศ.๑๖๑๑ ก็เป็นผลงานชิ้นเอกทันที, แต่ความจริงกว่าจะเป็นฉบับแปลคิงเจมส์(ภาษาอังกฤษ) ที่ได้รับการยอมรับต่อเนื่องมา สี่ร้อยปี มีเหตุการณ์แวดล้อมอะไร เกิดขึ้นกับไบเบิลฉบับนี้บ้าง: นี่คือเรื่องจริง
ตอนที่พระเจ้าคิงเจมส์ที่ ๑ ประเทศอังกฤษ ขึ้นครองราชย์ เริ่มต้นด้วยความไม่ลงรอยกันในราชอาณาจักร, มีความแตกแยก กำลังซวนเซจากการต่อสู้แข่งขันทางศาสนาที่มีมานานนับร้อยปี. พวกแองลิกัน,พิวริตัน,และคาทอลิค แต่ละนิกายพยายามแสวงหาอำนาจในศาสนาจักรและการปกครอง. ในเรื่องคัมภีร์ไบเบิล, แต่ละนิกาย มีไบเบิลเป็นของตนเอง(ตามลำดับดังนี้ :
นิกายแองลิกัน ใช้ฉบับบิชอป,
พิวริตัน ใช้ฉบับเจนีวา ,
คาทอลิค ใช้ฉบับแรงส์ (Douay-Rheims) ที่จะได้เห็นรายละเอียดกัน )
แรงจูงใจในการปกครองของพระเจ้าเจมส์ คือความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน แต่สภาพประเทศอังกฤษในขณะนั้น ดูเหมือนจะห่างไกล, พระองค์พยายามอุปถัมภ์ศาสนาทุกนิกายในอาณาจักร โดยตั้งนักวิชาการผู้ศึกษาเรื่องหนึ่งเรื่องใดโดยเฉพาะ จำนวน ๔๗ คน ร่วมกันทำงานเพื่อสร้างไบเบิลฉบับแปลใหม่ขึ้นมา ๑ ฉบับ ใช้อ่านกันในศาสนจักรทุกแห่ง สิ่งที่ได้จากการคณะกรรมการที่โต้เถียงกันด้วยสติปัญญา เป็นหนึ่งของงานที่ยั่งยืนและได้รับความนิยมมากที่สุดในประวัติศาสตร์ของภาษาอังกฤษ, แต่ไม่มีใครในเวลานั้น หรือในอีกสิบปีต่อมา คาดเดาว่าฉบับแปลคิงเจมส์ที่มีสถานะเป็นสัญลักษณ์นี้ ที่ตอนแรก มีศัตรูจำนวนมาก.
“ข้าพเจ้าอยากนำ(ไบเบิลฉบับแปลคิงเจมส์)ไปเผา”
ผู้แปล ฉบับแปลคิงเจมส์ (KJV.ชื่อย่อที่เป็นอักษรตัวใหญ่เสมอ) เตรียมเขียนบทนำ ขนาดยาว ให้กับฉบับพิมพ์ปี ๑๖๑๑ เสมือนหนึ่ง พวกเขามีความรู้สึกว่า จำเป็นต้องอธิบายว่าพวกเขาทำอะไรขึ้นมา บทนำนั้นมีข้อความตอนหนึ่งเขียนไว้ว่า:
“ที่จริง, นักอ่านคต.ที่ดี, พวกเราไม่ได้คิดตั้งแต่เริ่มต้นว่า จำเป็นต้องมีฉบับแปลใหม่ ทั้งไม่จำเป็นต้องทำให้เล่มที่ไม่ดี ดีขึ้น . . . แต่ทำให้เล่มที่ดี ดีขึ้นไปอีก...”
เป็นที่ชัดเจนว่า คนแปลหลายคนเตรียมการแต่แรกแล้วว่า ต้องมีการต่อต้านฉบับแปลใหม่ และมีการต่อต้านจริงๆ ดร.ฮิว บรอจ์ตัน, นักวิชาการภาษาฮีบรูที่มีชื่อเสียง แต่มีคนไม่ชอบเขามาก ได้กล่าวโจมตีก่อน การไม่พอใจของเขาที่มีต่อกษัตริย์. ทำให้กษัตริย์ไม่พอใจเขาเช่นกัน ผลก็คือเขาไม่อยู่ในรายชื่อผู้แปลไบเบิลลำดับแรกๆ บรูตันกล่าวว่า:
“ไบเบิลฉบับล่าสุด . . . ที่ส่งมาให้ข้าพเจ้าตรวจ: ทำให้รู้สึกเศร้า ทุกครั้งที่อ่าน ทำออกมาอย่างไม่ดี. บอกพระเจ้าแผ่นดินว่า ข้าพเจ้าคิดว่า แย่กว่าการแปล ใดๆที่เคยมี ตามความเห็นของข้าพเจ้า. ข้าพเจ้ายอมตาย แทนที่จะยอมรับการแปลใดๆนั้น . . .ฉบับแปลใหม่ทำความฉุนเฉียวแก่ข้าพเจ้ามากที่สุด “ อยากให้นำไปเผา.”เราอาจสงสัยว่า บรอจ์ตัน พูดถึงองุ่นเปรี้ยว : แต่ที่จริง บรอจ์ตัน ใช้เวลา มากกว่า ๓๐ ปี ทำการแปลไบเบิลของตนเอง โดยใช้ฉบับแปลเจนีวา ที่เขาชอบ เป็นแนวทางในการแปล.
สภาพแวดล้อมในตอนนั้นมาจากสถานการณ์ทางการเมืองในเวลานั้น, การต่อต้านฉบับแปลใหม่โดยมากจะเป็นแบบเฉยเมย. ยังมีการอ่านไบเบิลฉบับบิชอป (นิกายแอลิกันใช้ฉบับบิชอป) ในโบสถ์อย่างต่อเนื่อง; คนที่เคร่งจะนิยมอ่านไบเบิลฉบับเจนีวา เป็นส่วนตัว (นิกายพิวริตัน). เป็นเวลาหลายปี, นักแปลชั้นนำ บิชอป แลนช์ลอท แอนดรู เองยังคงอ้างข้อคัมภีร์จากเวอร์ชั่นที่เก่ากว่า. อดัม นิโคลสัน, ผู้เขียน หนังสือ ”เลขาของพระเจ้า, สรุปว่า การยอมรับ ฉบับแปลคิงเจมส์ ในตอนแรกว่า; “ไม่ได้ผลแต่อย่างใด เป็นความล้มเหลว...มีแต่คนรังเกียจกันทั่วไป” พวกพิวริตันทุกคน รวมทั้งคนที่อพยพไป เมสซาจูเซท ยังคงใช้ไบเบิลฉบับเจนีวา แม้แต่ในบทนำของฉบับแปลคิงเจมส์เอง ไม่ได้เขียนขึ้นเอง แต่มาจาก ไบเบิลฉบับเจนีวา (คน)จึง (รู้สึก) “ไม่ชอบอยู่ลึกๆ,”
เริ่มเค้าลางร้าย
ในขณะที่กำลังมีการประชุมแฮมตัน คอร์ด ปี 1604 ผู้คนยังอ่านไบเบิลฉบับเจนีวา เป็นลางบอก สิ่งที่ฉบับแปลคิงเจมส์ ต้องเผชิญ หลังจากการปรากฏตัวครั้งแรก ในปี ๑๖๑๑
ไบเบิลของพวกพิวริตัน(ฉบับเจนีวา)คือคู่แข่งของฉบับแปลคิงเจมส์
คู่แข่งที่ใหญ่ที่สุด ของฉบับแปลคิงเจมส์ ในความรู้สึกของประชาชน คือ ไบเบิลฉบับเจนีวา. ความจริง หลังจากผลิตฉบับของกษัตริย์คิงเจมส์ ได้ไม่นาน, พระเจ้าเจมส์ สั่งห้ามการพิมพ์ไบเบิลฉบับเจนีวาใดๆ ขึ้นมาใหม่ ไม่ว่าในรูปแบบใด, เพื่อที่คนจะหันไปใช้ฉบับแปลคิงเจมส์กันมากขึ้น แต่วิธีการนั้น ยังไม่ทำให้ไบเบิลฉบับแปลคิงเจมส์ได้รับความนิยม. คนพิมพ์ยังพิมพ์ฉบับที่ห้ามพิมพ์ต่อไป โดยการพิมพ์วันที่บนปก ให้เป็นวันที่ก่อนหน้าวันห้ามพิมพ์, เพื่อให้ดูเป็นไบเบิลฉบับพิมพ์ก่อนหน้านั้น. อะไรทำให้ไบเบิลฉบับเจนีวา เป็นคู่แข่งขันที่น่ากลัวของฉบับแปลใหม่ของกษัตริย์?
จะเข้าใจได้ชัดเจน ก็ต่อเมื่อเรารู้ความเป็นมาของไบเบิลฉบับเจนีวา. ภายใต้การปกครองของราชินีแมรี ที่นับถือโรมันคาทอลิค ที่ครองราชย์ตั้งแต่ปี ๑๕๕๓ ชาวคริสต์นิกายโปรเตสแตนท์ ที่กล้าหาญ ปกป้องความสามารถ ในการปฏิบัติศาสนาของพวกเขาได้ โดยไม่ถูกขัดขวางและมีศักยภาพในการดำเนินชีวิตของพวกเขา— พวกนี้หลบหนี ไปกรุงเจนีวา ประเทศสวิตฯ. ที่นี่เอง ที่ผู้นับถือนิกายโปรเตสแตนท์เริ่มทำการแปลไบเบิลใหม่, ตั้งชื่อไบเบิล(ฉบับเจนีวา) ตามเมืองที่คาลวิล ได้ช่วยเปลี่ยนให้เป็นที่อยู่รวมกันของพวกโปรเตสแตนท์ (เมกกะโปรเตสแจนท์) ผู้นำในการแปลหลักๆ มี ๔ คน
๑) คือวิลเลียม วิททิงแฮม, อดีตนักศึกษา ที่ Christ Church,ม.อ๊อกฟอร์ด;
๒) คริสตโตเฟอร์ กู๊ด- ผู้หลีกเลี่ยงการเผชิญหน้า;
๓) โทมัส แซมสัน ผู้อยู่ในนิกายคาลวิน ต่อมาบวชโดยบิชอป ริดเลย์ ตามพิธีการและระเบียบนิกายแอลลิกัน
๔) ริชาร์ด ค๊อก, ผู้นับถือนิกายลูเธอร์แรนและอธิการอีตัน.