ขอถามทั้งในห้องสมุด(มีผู้รู้ด้านวิชาการภาษาศาสตร์) และห้องศาสนานะครับ(คำเกี่ยวเนื่องกันโดยตรง)
คือผมสงสัยว่า ในเมื่อทางพุทธศาสนานิกายเถรวาทนั้น บันทึก และ เรียนรู้กันด้วยภาษาบาลี
(ซึ่งเป็นที่เข้าใจได้ ด้วยเหตุพยายามรักษาต้นฉบับ และการแปลคำข้ามภาษา ความหมายจะเพี้ยนไปจากเดิมได้)
แล้ว เหตุไฉน ทำไมพวกคำภาษาไทยต่างๆ ที่เราใช้ในทางศาสนา จึงเป็นรูปแบบคำที่มาจากสันสกฤตล่ะครับ?
เช่น เราเขียนว่า "กรรม" ไม่เขียนว่า "กัม" หรือ "กัมม์"
เราเขียนว่า "ธรรมะ" ไม่เขียน "ธัมมะ"
เราเขียนว่า "ศรัทธา" ไม่เขียนว่า "สัทธา"
ฯลฯ
ผู้รู้โปรดช่วยไขข้อข้องใจด้วยเถิด
ขอบคุณครับ
ขอสอบถามเกี่ยวกับบาลีและสันสกฤตครับ
คือผมสงสัยว่า ในเมื่อทางพุทธศาสนานิกายเถรวาทนั้น บันทึก และ เรียนรู้กันด้วยภาษาบาลี
(ซึ่งเป็นที่เข้าใจได้ ด้วยเหตุพยายามรักษาต้นฉบับ และการแปลคำข้ามภาษา ความหมายจะเพี้ยนไปจากเดิมได้)
แล้ว เหตุไฉน ทำไมพวกคำภาษาไทยต่างๆ ที่เราใช้ในทางศาสนา จึงเป็นรูปแบบคำที่มาจากสันสกฤตล่ะครับ?
เช่น เราเขียนว่า "กรรม" ไม่เขียนว่า "กัม" หรือ "กัมม์"
เราเขียนว่า "ธรรมะ" ไม่เขียน "ธัมมะ"
เราเขียนว่า "ศรัทธา" ไม่เขียนว่า "สัทธา"
ฯลฯ
ผู้รู้โปรดช่วยไขข้อข้องใจด้วยเถิด
ขอบคุณครับ