ต่อไปให้ตรวจสอบสุภาษิตของทั้งสองประเทศที่เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรม
ในแง่ที่เป็นครั้งแรกเกี่ยวกับประเพณีการแต่งงานเมื่อเลือกเจ้าสาวเป็นเหมือนกันโดยเน้นคุณแม่
เช่นว่า ในเกาหลีมีสำนวนที่ 신부를 고를 땐 그녀의 어머니를 봐라(ตอนเลือกเจ้าสาวควรดูคุณแม่ของเธอ) ในไทยมีสำนวน ดูวัวให้ดูหาง ดูนางให้ดูแม่ ประเทศไทยจะเพิ่มเรื่องราวของช้างในประเด็นที่สำคัญเป็นที่น่าสนใจเพราว่าในไทยช้างมีความสำคัญพิเศษ ในไทยมีสำนวนเช่นว่า ฆ่าช้างเอางามีความหมาย สำนวนสุภาษิตนี้หมายถึงการทำลายสิ่งที่มีค่ามาก เพื่อให้ได้ของที่มีค่าน้อยนิด หรือการกระทำที่ทำลายสิ่งสำคัญสิ่งที่มีค่ามากมาย เพื่อให้ได้สิ่งที่ไม่คุ้มค่า โดยไม่คิดเลยว่าการกระทำนั้นสมควรหรือไม่ ที่มาของสํานวน เป็นการเปรียบเปรยกับการการฆ่าช้างที่มีคุณค่ามากมายเป็นสัตว์มงคล คู่บ้านคู่เมือง เพียงเพื่อต้องการงาไปขายหรือทำเครื่องประดับถึงกับต้องฆ่าช้าง
นอกจากนี้ทั้งสองประเทศไทยและประเทศเกาหลี ยังตระหนักถึงการเผชิญหน้ากับคู่สมรสในการเวียนว่ายตายเกิดทาททางพุทธศาสนา
ตัวอย่างเช่ยในเกาหลีมีสำนวน 짚신도 짝이 있다(รองเท้าฟางก็มีคู่)
ในไทยมีสำนวน น้ำลดต่อผุดสำนวนนี้หมายถึง คนที่เวลาชะตาตกหรือเคราะห์ร้าย ความลับต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับความประพฤติไม่ดี เช่น ทุจริต คดโกง ที่เคยทำไว้ก็มักปรากฏออกมาให้เห็น เวลาชะตาดีก็เปรียบเหมือนน้ำขึ้นท่วมตอ จึงมองไม่เห็นตอ แต่เวลาชะตาตก น้ำลดแห้ง ตอก็ผุดขึ้นมาให้เห็นเป็นแถว อีกทั้งเห็นว่าประเทศไทยตระหนักดีว่าสัมพันธภาพระหว่างคู่สมรสเป็นเรื่องยากมากที่มีเกียรติ
เช่นว่า ในเกาหลีมีสำนวน시앗 싸움은 돌부처도 돌아 앉는다 (ความขัดแย้งกันกับอนุภรรยาทำให้ภรรยาโกรธมาก) แต่ส่วน ไนไทยมีเสียทองเท่าหัว เอาแฟนฉันไปเลย
แต่ในประเทศไทยและศาสนาเกาหลีมีสถานะของผู้หญิงด้อยกว่าผู้ชายอันเนื่องมาจากอิทธิพลจากศาสนาเหมือนกัน เช่นว่ามีสำนวนเกาหลี남자는 하늘, 여자는 땅(ผู้ชายเป็นฟ้าผู้หญิงเป็นดิน) และสำนวนไทยก็มี ผู้ชายเป็น ช้างเท้าหน้า ผู้หญิงเป็นช้างเท้าหลัง
นอกจากนี้ยังมีจำนวนมากในสุภาษิตได้รับผลกระทบจากศาสนาพุทธทั้งในเกาหลีและไทยด้วย
ในเกาหลีมีสำนวนที่옷깃만 스쳐도 인연(ถึงแม้ว่าเฉียดปกเสื้อเฉยๆก็ความสัมพันธ์),และไทยมี กรวดน้ำคว่ำขัน
อีกทั้ง 사람 팔자 시간 문제 - 운명이 공덕과 업에 달려 있다 라는 말도 있다.
-
다음은 문화에 관련된 양국의 속담을 비교해 보겠다.
먼저 결혼 풍습에 대하여 살펴보자면, 신부를 고를 땐 모풍을 중시하는 점이 동일하다.
한국에는 신부를 고를 땐 그녀의 어머니를 봐라라는 속담이 있고,
태국에는 코끼리를 고를 때 꼬리를 보고, 신부를 고를 때 그녀의 어 머니를 봐라 라는 속담이 있다.
태국은 여기에 또 코끼리의 내용을 보태고 있다. 태국에선 중요한 사안엔 반드시 코끼리의 이야기가 보태져 있는 것이 특이하다.
배우자의 천정론도 태국 에선 불교적 윤회론으로 인식하고 있으며, 양국 모두 전통 혼인은 중매혼 혼속이었음을 보이고 있다.
그 예로 한국에는 짚신도 짝이 있다는 속담이 있고, 태국에는 같은 나무의 꽃을 따라라는 속담이 있다.
그러나 태국에선 신부집에 지참금을 주고, 또한 결혼 전에 신혼집을 지어준다는 점에한국과 차이가 있다.
한국은 부부관계를 파뿌리될 때까지라 하여 단순히 생물학적 변화 속에서 부부해로를 표현하고 있 음에 비해, 태국은 금이 입혀진 지팡이나 곤봉, 즉 보석같은 존재로서 끝까지 함께 가는 지팡이나 곤 봉으로 표현함으로써 부부관계를 매우 귀하게 인식하고 있다고 본다.
그 예로
한국에는 시앗 싸움은 돌부처도 돌아 앉는다 라는 속담이 있고,
태국에는 머리통만한 금을 잃어도 남편은 빼앗기지 않는다 라는 속담이 있다.
그러나 태국은 이슬람교의 영향, 한국은 유교의 영향으로 여성의 지위가 남자에 비해 떨어졌다는 공통점이 있다.
남자는 하늘, 여자는 땅 - 남성은 코끼리의 앞발, 여성은 코끼리의 뒷발
또한 한국과 태국 모두 불교의 영향을 받은 속담이 많이 있다. 윤회 사상에 대한 예로
한국에는 옷깃만 스쳐도 인연이라는 말이 있고, 태국에는 다음 생의 오후라는 말이 있다.
또한 사람 팔자 시간 문제 - 운명이 공덕과 업에 달려 있다 라는 말도 있다.
เรื่องการเปรียบเทียบสุภาษิตไทยกับสำนวนเกาหลีในทางวัฒนธรรม
ในแง่ที่เป็นครั้งแรกเกี่ยวกับประเพณีการแต่งงานเมื่อเลือกเจ้าสาวเป็นเหมือนกันโดยเน้นคุณแม่
เช่นว่า ในเกาหลีมีสำนวนที่ 신부를 고를 땐 그녀의 어머니를 봐라(ตอนเลือกเจ้าสาวควรดูคุณแม่ของเธอ) ในไทยมีสำนวน ดูวัวให้ดูหาง ดูนางให้ดูแม่ ประเทศไทยจะเพิ่มเรื่องราวของช้างในประเด็นที่สำคัญเป็นที่น่าสนใจเพราว่าในไทยช้างมีความสำคัญพิเศษ ในไทยมีสำนวนเช่นว่า ฆ่าช้างเอางามีความหมาย สำนวนสุภาษิตนี้หมายถึงการทำลายสิ่งที่มีค่ามาก เพื่อให้ได้ของที่มีค่าน้อยนิด หรือการกระทำที่ทำลายสิ่งสำคัญสิ่งที่มีค่ามากมาย เพื่อให้ได้สิ่งที่ไม่คุ้มค่า โดยไม่คิดเลยว่าการกระทำนั้นสมควรหรือไม่ ที่มาของสํานวน เป็นการเปรียบเปรยกับการการฆ่าช้างที่มีคุณค่ามากมายเป็นสัตว์มงคล คู่บ้านคู่เมือง เพียงเพื่อต้องการงาไปขายหรือทำเครื่องประดับถึงกับต้องฆ่าช้าง
นอกจากนี้ทั้งสองประเทศไทยและประเทศเกาหลี ยังตระหนักถึงการเผชิญหน้ากับคู่สมรสในการเวียนว่ายตายเกิดทาททางพุทธศาสนา
ตัวอย่างเช่ยในเกาหลีมีสำนวน 짚신도 짝이 있다(รองเท้าฟางก็มีคู่)
ในไทยมีสำนวน น้ำลดต่อผุดสำนวนนี้หมายถึง คนที่เวลาชะตาตกหรือเคราะห์ร้าย ความลับต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับความประพฤติไม่ดี เช่น ทุจริต คดโกง ที่เคยทำไว้ก็มักปรากฏออกมาให้เห็น เวลาชะตาดีก็เปรียบเหมือนน้ำขึ้นท่วมตอ จึงมองไม่เห็นตอ แต่เวลาชะตาตก น้ำลดแห้ง ตอก็ผุดขึ้นมาให้เห็นเป็นแถว อีกทั้งเห็นว่าประเทศไทยตระหนักดีว่าสัมพันธภาพระหว่างคู่สมรสเป็นเรื่องยากมากที่มีเกียรติ
เช่นว่า ในเกาหลีมีสำนวน시앗 싸움은 돌부처도 돌아 앉는다 (ความขัดแย้งกันกับอนุภรรยาทำให้ภรรยาโกรธมาก) แต่ส่วน ไนไทยมีเสียทองเท่าหัว เอาแฟนฉันไปเลย
แต่ในประเทศไทยและศาสนาเกาหลีมีสถานะของผู้หญิงด้อยกว่าผู้ชายอันเนื่องมาจากอิทธิพลจากศาสนาเหมือนกัน เช่นว่ามีสำนวนเกาหลี남자는 하늘, 여자는 땅(ผู้ชายเป็นฟ้าผู้หญิงเป็นดิน) และสำนวนไทยก็มี ผู้ชายเป็น ช้างเท้าหน้า ผู้หญิงเป็นช้างเท้าหลัง
นอกจากนี้ยังมีจำนวนมากในสุภาษิตได้รับผลกระทบจากศาสนาพุทธทั้งในเกาหลีและไทยด้วย
ในเกาหลีมีสำนวนที่옷깃만 스쳐도 인연(ถึงแม้ว่าเฉียดปกเสื้อเฉยๆก็ความสัมพันธ์),และไทยมี กรวดน้ำคว่ำขัน
อีกทั้ง 사람 팔자 시간 문제 - 운명이 공덕과 업에 달려 있다 라는 말도 있다.
-
다음은 문화에 관련된 양국의 속담을 비교해 보겠다.
먼저 결혼 풍습에 대하여 살펴보자면, 신부를 고를 땐 모풍을 중시하는 점이 동일하다.
한국에는 신부를 고를 땐 그녀의 어머니를 봐라라는 속담이 있고,
태국에는 코끼리를 고를 때 꼬리를 보고, 신부를 고를 때 그녀의 어 머니를 봐라 라는 속담이 있다.
태국은 여기에 또 코끼리의 내용을 보태고 있다. 태국에선 중요한 사안엔 반드시 코끼리의 이야기가 보태져 있는 것이 특이하다.
배우자의 천정론도 태국 에선 불교적 윤회론으로 인식하고 있으며, 양국 모두 전통 혼인은 중매혼 혼속이었음을 보이고 있다.
그 예로 한국에는 짚신도 짝이 있다는 속담이 있고, 태국에는 같은 나무의 꽃을 따라라는 속담이 있다.
그러나 태국에선 신부집에 지참금을 주고, 또한 결혼 전에 신혼집을 지어준다는 점에한국과 차이가 있다.
한국은 부부관계를 파뿌리될 때까지라 하여 단순히 생물학적 변화 속에서 부부해로를 표현하고 있 음에 비해, 태국은 금이 입혀진 지팡이나 곤봉, 즉 보석같은 존재로서 끝까지 함께 가는 지팡이나 곤 봉으로 표현함으로써 부부관계를 매우 귀하게 인식하고 있다고 본다.
그 예로
한국에는 시앗 싸움은 돌부처도 돌아 앉는다 라는 속담이 있고,
태국에는 머리통만한 금을 잃어도 남편은 빼앗기지 않는다 라는 속담이 있다.
그러나 태국은 이슬람교의 영향, 한국은 유교의 영향으로 여성의 지위가 남자에 비해 떨어졌다는 공통점이 있다.
남자는 하늘, 여자는 땅 - 남성은 코끼리의 앞발, 여성은 코끼리의 뒷발
또한 한국과 태국 모두 불교의 영향을 받은 속담이 많이 있다. 윤회 사상에 대한 예로
한국에는 옷깃만 스쳐도 인연이라는 말이 있고, 태국에는 다음 생의 오후라는 말이 있다.
또한 사람 팔자 시간 문제 - 운명이 공덕과 업에 달려 있다 라는 말도 있다.