ขั้นแรกให้ตรวจสอบสุภาษิตของทั้งสองประเทศที่เกี่ยวข้องกับธรรมชาติ เกาหลีได้ปรากฏส่วนใหญ่ในจำนวนมากของผลิตภัณฑ์อาหารแบบดั้งเดิมของสังคมเกษตรกรรม เช่นว่า속 빈 강정(강정ที่ข้างในโพรง)
อันนี้มีความหมายเหมือนกับ ข้างนอกสุกใสข้างในเป็นโพรง และ강정 เป็นอาหารประเพณีเกาหลี
แต่ประเทศไทยส่วนใหญ่ใช้คำข้าว ปลา หรือ กล้วย ฯลฯ แบบนี้ที่อาหารทั่วไปมากกว่าอาหารประเพณีไทย
เช่นว่า ง่ายเหมือนปอกกล้วยเข้าปาก อันนี้ หมายความว่า ง่ายมาก เทียบกับสำนวนเกาหลีว่า 누워서 떡 먹기 (เหมือนนอนและกิน떡)
คำ떡 ที่นี่ก็อาหารประเพณีเกาหลี นอกจากนี้ในเกาหลีได้เห็นสุภาษิตที่เกี่ยวกับสี่ฤดูกาลวัฒนธรรมสภาพภูมิอากาศ เช่น가을 식은 밥이 봄 양식이라 (ข้าวฤดูใบไม้ร่วงเย็นแล้วเป็นของกินในฤดูใบไม้รผลิต) อันนี้มีความหมายเหมือนกับ กินน้ําเผื่อแล้ง
แต่ในไทยมีหลายสุภาษิตสุภาษิตเป็นส่วนใหญ่ที่เกี่ยวข้องกับความร้อน เช่น ตากหญ้าเสียในขณะที่ยังมีแดด
ด้วย ในสำนวนประเทศไทยเราสามารถเห็นเรื่องที่เกี่ยวกับเรือ, น้ำ, พายเรือ, ฯลฯ ที่มีลักษณะทางวัฒนธรรมที่ชาวประมงจำนวนมาก เข่นว่า มีสำนวน น้ำขึ้นให้รีบตัก,หมายถึงเมื่อมีโอกาสหรือได้จังหวะในการทำมาหากินหรือช่องทางที่จะทำให้ได้ผลประโยชน์แก่ตนแล้ว ก็ควรจะรีบคว้าหรือรีบฉวยโอกาสอันดีนี้เสีย อย่าปล่อยโอกาสผ่านพ้นไป และ น้ำเชี่ยวอย่าเอาเรือขวางหมายถึง การทำอะไรให้เป็นที่ขัดขวาง หรือเป็นที่ขัดต่ออารมณ์ของอีกฝ่ายหนึ่ง โดยไม่ดูเหตุการณ์เสียก่อน อาจทำให้ได้รับเคราะห์หรืออันตรายได้ และ น้ำพึ่งเรือ เสือพึ่งป่า หมายถึงการพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน และ อื่นๆ
การเปรีนยเทียบสำนวนเกาหลีกัยสำนวนไทยในด้านธรรมชาติ
อันนี้มีความหมายเหมือนกับ ข้างนอกสุกใสข้างในเป็นโพรง และ강정 เป็นอาหารประเพณีเกาหลี
แต่ประเทศไทยส่วนใหญ่ใช้คำข้าว ปลา หรือ กล้วย ฯลฯ แบบนี้ที่อาหารทั่วไปมากกว่าอาหารประเพณีไทย
เช่นว่า ง่ายเหมือนปอกกล้วยเข้าปาก อันนี้ หมายความว่า ง่ายมาก เทียบกับสำนวนเกาหลีว่า 누워서 떡 먹기 (เหมือนนอนและกิน떡)
คำ떡 ที่นี่ก็อาหารประเพณีเกาหลี นอกจากนี้ในเกาหลีได้เห็นสุภาษิตที่เกี่ยวกับสี่ฤดูกาลวัฒนธรรมสภาพภูมิอากาศ เช่น가을 식은 밥이 봄 양식이라 (ข้าวฤดูใบไม้ร่วงเย็นแล้วเป็นของกินในฤดูใบไม้รผลิต) อันนี้มีความหมายเหมือนกับ กินน้ําเผื่อแล้ง
แต่ในไทยมีหลายสุภาษิตสุภาษิตเป็นส่วนใหญ่ที่เกี่ยวข้องกับความร้อน เช่น ตากหญ้าเสียในขณะที่ยังมีแดด
ด้วย ในสำนวนประเทศไทยเราสามารถเห็นเรื่องที่เกี่ยวกับเรือ, น้ำ, พายเรือ, ฯลฯ ที่มีลักษณะทางวัฒนธรรมที่ชาวประมงจำนวนมาก เข่นว่า มีสำนวน น้ำขึ้นให้รีบตัก,หมายถึงเมื่อมีโอกาสหรือได้จังหวะในการทำมาหากินหรือช่องทางที่จะทำให้ได้ผลประโยชน์แก่ตนแล้ว ก็ควรจะรีบคว้าหรือรีบฉวยโอกาสอันดีนี้เสีย อย่าปล่อยโอกาสผ่านพ้นไป และ น้ำเชี่ยวอย่าเอาเรือขวางหมายถึง การทำอะไรให้เป็นที่ขัดขวาง หรือเป็นที่ขัดต่ออารมณ์ของอีกฝ่ายหนึ่ง โดยไม่ดูเหตุการณ์เสียก่อน อาจทำให้ได้รับเคราะห์หรืออันตรายได้ และ น้ำพึ่งเรือ เสือพึ่งป่า หมายถึงการพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน และ อื่นๆ