http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=33&A=8394&Z=8445&pagebreak=0
☆☆ ☆☆ ☆☆ ☆☆ ☆☆ ☆☆
ปกรณ
อ่านว่า ปะ-กะ-ระ-นะ
ในภาษาไทยใช้ว่า “ปกรณ์” อ่านว่า ปะ-กอน
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้“ปกรณ” ประกอบด้วย ป + กรฺ + ยุ
“ป” เป็นคำอุปสรรค (ประกอบข้างหน้าคำอื่น) แปลว่า ทั่ว, ข้างหน้า, ก่อน, ออก (เลือกคำแปลตามบริบท)
“กรฺ” (กะ-ระ) เป็นรากศัพท์ (ธาตุ) แปลว่า ทำ, กระทำ
“ยุ” เป็นคำปัจจัย (ประกอบข้างท้ายธาตุ) แปลว่า การ-, ความ-
ปกติ ยุ แปลงเป็น “อน” (อะ-นะ) แต่ถ้าพยัญชนะท้ายของธาตุ เป็น ร หรือ ห ต้องแปลง ยุ เป็น “อณ” (ณ เณร)
ดังนั้น ป + กรฺ + ยุ จึง = ปกรณ
“ปกรณ - ปกรณ์” แปลตามศัพท์ว่า “การทำทั่ว”
แต่คำนี้ใช้ในความหมายอื่นด้วย คือ การประกอบ, โอกาส, คำอธิบาย, การจัด, งานประพันธ์, หนังสือ,
ข้อความตอนหนึ่งในเรื่อง (undertaking paragraph), ตำรา, คัมภีร์
“ปกรณ” ที่หมายถึงคัมภีร์ มักใช้ประกอบท้ายชื่อคัมภีร์นั้นๆ เช่น เนตติปกรณ์ = คัมภีร์เนตติ, วิสุทธมัคคปกรณ์ = คัมภีร์วิสุทธิมรรค
ในพระไตรปิฎก พบใช้กับคัมภีร์พระอภิธรรมปิฎก เช่น ธัมมสังคณีปกรณ์ = คัมภีร์ธรรมสังคณี, วิภังคปกรณ์ = คัมภีร์วิภังค์
ภาษาไทยเรียกปกรณ์ว่า “คัมภีร์” ภาษาบาลีใช้ว่า ปกรณ
------------
คมฺภีร
อ่านว่า คำ-พี-ระ
ในภาษาไทยใช้ว่า “คัมภีร์” อ่านว่า คำ-พี
คำนี้เป็นคุณนาม (คำวิเศษณ์) แปลว่า ลึก, ลึกซึ้ง, หยั่งไม่ถึง, มีหลักดี, สุขุม, สังเกตยาก, ยากยิ่ง
ในภาษาไทยมักหมายถึงหนังสือตําราที่สําคัญทางศาสนาหรือโหราศาสตร์เป็นต้น
คัมภีร์ในพระพุทธศาสนาเถรวาท เฉพาะที่เป็นหลักคำสอน แบ่งระดับชั้นดังนี้ -
1
“พระไตรปิฎก” ประมวลคำสอนดั้งเดิมของพระพุทธเจ้า เป็นหลักฐานชั้นที่หนึ่ง (ข้อมูลระดับปฐมภูมิ)
รวบรวมขึ้นตั้งแต่พระพุทธเจ้าเสด็จดับขันธปรินิพพานได้ 3 เดือน บางทีเรียกว่า
“พระบาลี”
หรือเรียกควบกันเป็น
“พระบาลีพระไตรปิฎก” พิมพ์เป็นอักษรไทยแบ่งเป็น 45 เล่ม
2
“อรรถกถา” คัมภีร์อธิบายความในพระไตรปิฎก ฉบับที่พิมพ์แล้วมีประมาณ 60 เล่ม
3
“ฎีกา” คัมภีร์อธิบายความในอรรถกถา
4
“อนุฎีกา” คัมภีร์อธิบายความในฎีกา
คัมภีร์ฎีกาและอนุฎีกาฉบับที่พิมพ์แล้วมีประมาณ 30 เล่ม
คัมภีร์ทุกระดับต้นฉบับเป็นภาษาบาลี
เหตุที่ “คัมภีร์” มีความหมายไปถึง “หนังสือตําราที่สําคัญทางศาสนา” คงเป็นเพราะหนังสือเหล่านี้มีข้อความลึกซึ้งและเข้าใจยาก
อันเป็นความหมายของคำว่า “คัมภีร์”
ที่มา
https://www.facebook.com/hashtag/บาลีวันละคำ?source=feed_text&story_id=772081436218929&pnref=story
☆☆ ☆☆ ☆☆ ☆☆ ☆☆ ☆☆
คำว่า ปกรณ์ หรือคัมภีร์ ไม่ได้หมายความถึงหนังสือเป็นเล่มๆ เท่านั้น
สังเกตว่า ทำไมท่านผู้แปลบาลีเป็นไทย จึงขยายความว่าเป็นพระอภิธรรม (ปิฎก) ?
1 ถ้าไม่ได้หมายความถึงพระอภิธรรมปิฎก แล้วจะหมายความถึงอะไร
2 คัมภีร์อรรถกถา อธิบายว่า
http://www.84000.org/tipitaka/attha/seek.php?text=%BB%A1%C3%B3%EC%B7%D1%E9%A7+%F7&t=b&b=1&bs=45&a=0102&original=1
3 น่าจะเป็นหลักฐานเพิ่มเติมว่า มีการแบ่งพระอภิธรรมออกเป็น ๗ แล้วเล่าเรียนทรงจำกันมาตั้งแต่สมัยพุทธกาลแล้ว
ก่อนปฐมสังคายนาเสียอีก
กระทู้ที่เกี่ยวข้อง
สิ้นสงสัยว่า พระอภิธรรม กำเนิดจากคำสอนของพระพุทธองค์
http://ppantip.com/topic/32873407
☆ บาลีวันละคำ ... ปกรเณ สตฺต --- พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์ ☆
http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=33&A=8394&Z=8445&pagebreak=0
ปกรณ
อ่านว่า ปะ-กะ-ระ-นะ
ในภาษาไทยใช้ว่า “ปกรณ์” อ่านว่า ปะ-กอน
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
“ปกรณ - ปกรณ์” แปลตามศัพท์ว่า “การทำทั่ว”
แต่คำนี้ใช้ในความหมายอื่นด้วย คือ การประกอบ, โอกาส, คำอธิบาย, การจัด, งานประพันธ์, หนังสือ,
ข้อความตอนหนึ่งในเรื่อง (undertaking paragraph), ตำรา, คัมภีร์
“ปกรณ” ที่หมายถึงคัมภีร์ มักใช้ประกอบท้ายชื่อคัมภีร์นั้นๆ เช่น เนตติปกรณ์ = คัมภีร์เนตติ, วิสุทธมัคคปกรณ์ = คัมภีร์วิสุทธิมรรค
ในพระไตรปิฎก พบใช้กับคัมภีร์พระอภิธรรมปิฎก เช่น ธัมมสังคณีปกรณ์ = คัมภีร์ธรรมสังคณี, วิภังคปกรณ์ = คัมภีร์วิภังค์
ภาษาไทยเรียกปกรณ์ว่า “คัมภีร์” ภาษาบาลีใช้ว่า ปกรณ
------------
คมฺภีร
อ่านว่า คำ-พี-ระ
ในภาษาไทยใช้ว่า “คัมภีร์” อ่านว่า คำ-พี
คำนี้เป็นคุณนาม (คำวิเศษณ์) แปลว่า ลึก, ลึกซึ้ง, หยั่งไม่ถึง, มีหลักดี, สุขุม, สังเกตยาก, ยากยิ่ง
ในภาษาไทยมักหมายถึงหนังสือตําราที่สําคัญทางศาสนาหรือโหราศาสตร์เป็นต้น
คัมภีร์ในพระพุทธศาสนาเถรวาท เฉพาะที่เป็นหลักคำสอน แบ่งระดับชั้นดังนี้ -
1 “พระไตรปิฎก” ประมวลคำสอนดั้งเดิมของพระพุทธเจ้า เป็นหลักฐานชั้นที่หนึ่ง (ข้อมูลระดับปฐมภูมิ)
รวบรวมขึ้นตั้งแต่พระพุทธเจ้าเสด็จดับขันธปรินิพพานได้ 3 เดือน บางทีเรียกว่า “พระบาลี”
หรือเรียกควบกันเป็น “พระบาลีพระไตรปิฎก” พิมพ์เป็นอักษรไทยแบ่งเป็น 45 เล่ม
2 “อรรถกถา” คัมภีร์อธิบายความในพระไตรปิฎก ฉบับที่พิมพ์แล้วมีประมาณ 60 เล่ม
3 “ฎีกา” คัมภีร์อธิบายความในอรรถกถา
4 “อนุฎีกา” คัมภีร์อธิบายความในฎีกา
คัมภีร์ฎีกาและอนุฎีกาฉบับที่พิมพ์แล้วมีประมาณ 30 เล่ม
คัมภีร์ทุกระดับต้นฉบับเป็นภาษาบาลี
เหตุที่ “คัมภีร์” มีความหมายไปถึง “หนังสือตําราที่สําคัญทางศาสนา” คงเป็นเพราะหนังสือเหล่านี้มีข้อความลึกซึ้งและเข้าใจยาก
อันเป็นความหมายของคำว่า “คัมภีร์”
ที่มา
https://www.facebook.com/hashtag/บาลีวันละคำ?source=feed_text&story_id=772081436218929&pnref=story
คำว่า ปกรณ์ หรือคัมภีร์ ไม่ได้หมายความถึงหนังสือเป็นเล่มๆ เท่านั้น
สังเกตว่า ทำไมท่านผู้แปลบาลีเป็นไทย จึงขยายความว่าเป็นพระอภิธรรม (ปิฎก) ?
1 ถ้าไม่ได้หมายความถึงพระอภิธรรมปิฎก แล้วจะหมายความถึงอะไร
2 คัมภีร์อรรถกถา อธิบายว่า
http://www.84000.org/tipitaka/attha/seek.php?text=%BB%A1%C3%B3%EC%B7%D1%E9%A7+%F7&t=b&b=1&bs=45&a=0102&original=1
3 น่าจะเป็นหลักฐานเพิ่มเติมว่า มีการแบ่งพระอภิธรรมออกเป็น ๗ แล้วเล่าเรียนทรงจำกันมาตั้งแต่สมัยพุทธกาลแล้ว
ก่อนปฐมสังคายนาเสียอีก
กระทู้ที่เกี่ยวข้อง
สิ้นสงสัยว่า พระอภิธรรม กำเนิดจากคำสอนของพระพุทธองค์
http://ppantip.com/topic/32873407