ร่วงลงจากฟ้าใกล
อัดกระแทกพึ้นดินแตก
เทวทูตแห่งจุดจบ ผู้จบชีวิตและการดำรงอยู่ของยุคไดโนเสาร์
อุกกาบาต!
วัตถุอวกาศขนาดเกินกว่า 1 เมตร(ถ้าเล็กกว่า จะถูกเรียกว่า ฝุ่นอวกาศแทน)
พุ่งด้วยความเร็วมากกว่า 30 กิโลเมตรต่อวินาที เข้าปะทะผิวดาวแบบไม่ปราณีปราศรัย
ถามว่าทำไมวัตถุอวกาศพวกนี้ว่องใวหนักหนา ตอบว่าก็เป็นเพราะกฏแรงโน้มถ่วงครับ
พี่ใหญ่ดวงอาทิตย์ของเรานี่ละ ตัวเล่นกลเหวี่ยงกระสุนเลย
อุกกาบาติพวกนี้ เมื่อเข้าบรรยากาศของเรา มันจะเสียดสีกับชั้นบรรยากาศ และทำให้เกิด
การลุกใหม้ที่รุนแรงมากๆ แรงนรกแตก
1. อุกกาบาตคืออะไร? เหมือนๆกันทุกก้อนหรือไม่?
สำหรับคำถามที่ว่าอุกกาบาตคืออะไร ผมว่าทุกท่านคงทราบดีอยู่แล้ว ไม่ต้องตอบอะไรมั้ง?เค้าล้อเล่น
แหะๆ สั้นๆดีกว่า อุกกาบาตคือเทหวัตถุขนาดเล็กในอวกาศที่หลุดรอดถึงผิวโลกครับ (ถ้าอยู่ในอวกาศเรียกว่าสะเก็ดดาว) พวกมันเป็นซากจากการก่อกำเนิดระบบสุริยะ เหมือนเศษทรายเศษหินที่เหลือจากการสร้างตึกซักหลังนี่แหละครับ
พวกมันส่วนใหญ่โคจรอยู่อย่าง(ค่อนข้าง)มีระบบในแถบดาวเคราะห์น้อย 3 แถบหลักได้แก่
- แถบดาวเคราะห์น้อยหลัก อยู่แถวๆระหว่างวงโคจรดาวอังคารและดาวพฤหัสสบดี จำนวนที่พบแล้วถึงวันนี้มากกว่า 50,000 ดวง
- กลุ่มดาวเคราะห์น้อยโทรจัน มีสองกลุ่มย่อย กลุ่มละหลายพันดวง วางตัวอยู่ในจุดสมมูลทางแรงโน้มถ่วงที่เกิดจากดาวพฤหัสและดวงอาทิตย์ เคลื่อนที่ตามดาวพฤหัสไปเรื่อยๆ
- แถบดาวเคราะห์น้อยไคเปอร์ วางตัวอยู่นอกเขตดาวเนปจูนไกลออกไปจนถึงขอบนอกๆของระบบสุริยะ คาดการณ์จำนวนไว้มากกว่า 1,000,000 ดวง หรืออาจถึงหลายพันล้านดวง
พวกนี้เป็นสะเก็ดดาวจนถึงปี 2011 ครับ
กำเนิดและอาศัยกันอยู่ทุกวันนี้ได้ดีขึ้นในบางคืนที่ท้องฟ้าปลอดโปร่งแจ่มใส เราอาจเห็นแสงวูบวาบตกลงมาจากฟากฟ้า
เรียกกันว่าดาวตกหรือผีพุ่งไต้แต่ความจริงดาวตกเป็นวัตถุแข็งจำพวกหินหรือเหล็กตกเข้าสู่เขตบรรยากาศโลกด้วย
ความเร็วหลายร้อยกิโลเมตรต่อชั่วโมงแรงเสียดสีกับบรรยากาศทำให้ร้อนจัดหลอมตัวเป็นลูกไฟสว่าง
มีควันเป็นทางยาว หากวัตถุชิ้นเล็กจะลุกไหม้สว่างกลายเป็นไอสลายไป หมด แต่บางก้อนที่มีขนาดใหญ่จะมีเสียงดังคล้ายเสียงยิงปืน
หรือเสียงฟ้าผ่าเมื่อวิ่งผ่านอากาศตกลงมา และหากสลายตัวไม่หมด มักเหลือซากตกลงถึงพื้นโลก เรียกว่า ลูกอุกกาบาต มีขนาด
เล็กใหญ่แตกต่างกัน ตั้งแต่น้ำหนักเพียงไม่กี่กรัมจนถึงก้อนหนึ่งหนักหลาย ๆ ตัน
อุกกาบาตแบ่งตามลักษณะเนื้อในเป็น 3 แบบ คือ อุกกาบาต ชนิด หิน เหล็ก และ เหล็กปนหิน ส่วนใหญ่ ที่พบเป็นอุกกาบาต ชนิดหิน ก้อนใหญ่ที่สุดในโลก ชื่อ จีหลิง (Jiling) ตกที่อำเภอจีหลิง ประเทศจีน เมื่อ 8 มีนาคม 2519 หนักเกือบ 2,000 กิโลกรัม ส่วนอุกกาบาตชนิดเหล็ก ก้อนใหญ่สุดที่ค้นพบคือ โฮบา เวสท์ (Hoba West) ปริมาตรราว 9 ลูกบาศก์เมตร หนักประมาณ 66 ตัน
ตกกลางป่า ในอัฟริกาตะวันออกเฉียงใต้
อุกกาบาตชนิดหินส่วนใหญ่มีลักษณะเหมือนหินบนโลก และมักสลายตัวเพราะลมฟ้าอากาศ ผู้เชี่ยวชาญเท่านั้นที่จะบอกได้ว่าเป็นลูกอุกกาบาต การวิเคราะห์ทำได้โดยตัดผิวอุกกาบาตให้เรียบ ขัดมันแล้วใช้กรดอย่างอ่อนกัด พบโครงสร้างรูปผลึกปรากฏเห็นชัดบนผิวเรียบนั้น ซึ่งเป็นลักษณะ เฉพาะตัวของอุกกาบาต
อุกกาบาตขนาดใหญ่ที่พุ่งชนโลกอย่างแรง ทำให้เกิดหลุมลึกบนพื้นโลกเรียกว่า เครเตอร์ หลุมอุกกาบาตใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่ง คือ หลุมแบริงเยอร์ ในรัฐอะริโซนา สหรัฐอเมริกา คาดว่า เกิดจากอุกกาบาตชนิดเหล็กหนักถึง 1 ล้านตัน เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 30 เมตร ตกกระแทก พื้นโลกเป็นหลุมมหึมา ปากหลุมกว้าง 1,200 เมตร ลึก 170 เมตร ความลึกเท่ากับตึกสูง 40 ชั้นทีเดียว หลุมแบริงเยอร์อายุประมาณ 22,000 ปี แต่ยังมีปีศาจกว้าง 200
กิโลเมตรอยู่ใต้ทะเลที่ยูกาตาน ตัวนั้นคาดว่าใหญ่ราวๆ 10 กิโลเมตร ความเร็วตอนพุ่งปะทะไม่ต่ำกว่า 60 km/s
ผลนะเหรอ ทีเร็กซ์ยังไม่รอดเลยครับพี่ ไดโนเสาร์ตายยกดาว....
ที่รัสเซีย ปี 1908 ก็มีเฮไปทีนึงครับ ไอ้ลูกที่ตกตรงนั้นทำเอาป่าทังกัสกาแหลกไปเลยละ
การลุกใหม้ของอุกกาบาตินั้น โดยมากจะเกิดในชั้นโทรโพสเฟียร์ และสตาร์โตรเฟียร์ อุกกาบาติสามารถเย็นตัวได้เร็วมาก คุณสามารถเก็บมันไปขายไดด้วยนะ ราคาดีเลยละ ที่พวกสมาคมดาราศาสตร์ต่างๆรับซึ้อกัน อุกกาบาติที่มีแมกนีจูดสว่างกว่า 4 จะถูกเรียกว่าไฟร์บอล สว่างกว่า
นั้นที่ 14 แมกนีจูด จะกลายเป็นบอลย์ 17 แมกนีจูดจะกลายเป็นซูเปอร์บอลย์
สัตว์ประหลาดที่รัสเซีย2013 ก็มาแนวเดียวกันครับ ขนาด 17 เมตร หนัก 70000 ตัน พุ่งมาด้วยสุดยอดความเร็ว ระเบิดบนฟ้าสูงในปี2013
ปล่อยโซนิคบูมทำลายล้างไปทั่ว นั่นคืออุกกาบาติโลหะ ที่จ่ายพลังงานร่วม 500 ตัน TNT เชียวนะครับ
คนบาดเจ็บไปเป็นพันๆ นั่นขนาดมันระเบิดบนฟ้าสูงนะ
เขาคาดว่ามันแตกตัวออกมาจากร่างของสัตว์ประหลาดอย่าง 2011eo 40 ซึ่งโชคดีมากครับ ที่ EO ไม่ชนโลก
เพราะถ้าชน มันจะเป็นหายนะครับ มันใหญ่กว่าลูกที่รัสเซีย 2013 อย่างต่ำก็สิบเท่า ถ้าชน มันจะเป็นหายนะระดับระเบิดไฮโดรเจนเป็นร้อยๆลูก
อีกกลุ่มคือสะเก็ดดาวขนาดเล็ก ตั้งแต่ 20-30 เมตรลงไป ณ วันนี้ยังคงแทบเป็นไปไม่ได้ที่จะพบมันในระยะไกล ส่วนใหญ่ของพวกมันพบก่อนผ่านโลกแค่ไม่กี่ชั่วโมง ไม่ก็เข้ามาในบรรยากาศโลกแ้ล้วด้วยซ้ำไป
สะเก็ดดาวขนาดเล็กน่าจะเป็นชนิดที่มีมากที่สุด และอาจพุ่งใส่โลกได้ทุกๆไม่กี่ปี ความเสียหายไม่ได้ร้ายแรงแต่ก็ส่งผลต่อชีวิตและทรัพย์สินหากตกลงเมือง ดังนั้นพวกมันก็อันตราย
พลังงานที่พวกมันมีก็ตั้งแต่ระเบิดลูกเล็กๆไปจนถึงระเบิดนิวเคลียร์ครับ
แต่นอกจากการแบ่งมันตามขนาดแล้ว เรามักแบ่งอุำกกาบาตตามองค์ประกอบของมันอีกด้วยครับ โดยมี 3 ชนิดหลัก (ซึ่งแบ่งย่อยได้อีกร่วม 50 กลุ่ม) ได้แก่
- อุกกาบาตชนิดหิน มีส่วนประกอบเป็นหินซิลิเกตและธาตุเบาเหมือนที่พบในหินบนโลก ความหนาแน่นประมาณ 2-4g/cm3
อุกกาบาตชนิดหิน
- อุกกาบาตชนิดหินผสมโลหะ เหมือนข้างบน แต่มีโลหะปนๆมาด้วย อุกกาบาตกลุ่มนี้มักมีผลึกแร่กระจายอยู่ทั่วภายใน มีความหนาแน่นราวๆ 4-7 g/cm3
อุกกาบาตผสม
- อุกกาบาตชนิดโลหะ มีโลหะเกือบทั้งหมด เป็นอุกกาบาตที่ค่อนข้างสว่างเพราะโลหะสะท้อนแสงดี และหนาแน่นสูงมากตั้งแต่ 7-1x g/cm3
อุกกาบาตชนิดเหล็ก
อันที่จริงพวกที่หนาแน่นน้อยกว่านี้ฃเพราะเป็นชิ้นส่วนน้ำแข็งก็มีครับ หรือหนาแน่นมากกว่านี้ก็มีความเป็นไปได้ แต่พวกนั้นหายาก
อุกกาบาตชนิดโลหะพบได้ยากมากครับ เท่าที่เราทราบมันมีประมาณแค่ 6% ของอุกกาบาตทั้งหมด อีกสองชนิดที่เหลือพอๆกัน
การตีความชนิดของสะเก็ดดาวพอบอกได้จากความสว่างเทียบกับขนาดของมัน ยิ่งสว่างมากก็มีแนวโน้มที่จะเป็นโลหะสูง แต่ถ้ามากเวอร์ๆจะกลายเป็นพวกดาวหางที่เป็นฝุ่นผสมน้ำแข็งแทน ดังนั้นการตรวจสอบว่าสะเก็ดดาวก้อนนึงๆใหญ่ขนาดไหน เร็วเท่าไหร่ เป็นชนิดไหนนั้นไม่ใช่งานง่ายนักครับ...
แค่ขนาดเล็กก็น่ากลัวแล้วครับ อุกกาบาติโลหะนะ ถ้ามันเร็วๆ อุกกาบาติโลหะขนาด 20 เมตร ที่ทำจากโลหะความหนาแน่น
8-9g/cm^3 และพุ่งด้วยความเร็วสัก 100 km/s อาจสร้างพลังงานได้ร่วม 40 MT พระเจ้า นั่นทำลายกรุงเทพได้ทั้งกรุง!
ไซต์ข้อมูล
http://en.wikipedia.org/wiki/Meteoroid
http://student.nu.ac.th/Solarsystem/METEOR.HTM
และของดี ผลงานท่าน ecos pantip
http://ppantip.com/topic/30156079
อุกกาบาติ...จากฟ้าสู่พึ้นดิน
อัดกระแทกพึ้นดินแตก
เทวทูตแห่งจุดจบ ผู้จบชีวิตและการดำรงอยู่ของยุคไดโนเสาร์
อุกกาบาต!
วัตถุอวกาศขนาดเกินกว่า 1 เมตร(ถ้าเล็กกว่า จะถูกเรียกว่า ฝุ่นอวกาศแทน)
พุ่งด้วยความเร็วมากกว่า 30 กิโลเมตรต่อวินาที เข้าปะทะผิวดาวแบบไม่ปราณีปราศรัย
ถามว่าทำไมวัตถุอวกาศพวกนี้ว่องใวหนักหนา ตอบว่าก็เป็นเพราะกฏแรงโน้มถ่วงครับ
พี่ใหญ่ดวงอาทิตย์ของเรานี่ละ ตัวเล่นกลเหวี่ยงกระสุนเลย
อุกกาบาติพวกนี้ เมื่อเข้าบรรยากาศของเรา มันจะเสียดสีกับชั้นบรรยากาศ และทำให้เกิด
การลุกใหม้ที่รุนแรงมากๆ แรงนรกแตก
1. อุกกาบาตคืออะไร? เหมือนๆกันทุกก้อนหรือไม่?
สำหรับคำถามที่ว่าอุกกาบาตคืออะไร ผมว่าทุกท่านคงทราบดีอยู่แล้ว ไม่ต้องตอบอะไรมั้ง?เค้าล้อเล่น
แหะๆ สั้นๆดีกว่า อุกกาบาตคือเทหวัตถุขนาดเล็กในอวกาศที่หลุดรอดถึงผิวโลกครับ (ถ้าอยู่ในอวกาศเรียกว่าสะเก็ดดาว) พวกมันเป็นซากจากการก่อกำเนิดระบบสุริยะ เหมือนเศษทรายเศษหินที่เหลือจากการสร้างตึกซักหลังนี่แหละครับ
พวกมันส่วนใหญ่โคจรอยู่อย่าง(ค่อนข้าง)มีระบบในแถบดาวเคราะห์น้อย 3 แถบหลักได้แก่
- แถบดาวเคราะห์น้อยหลัก อยู่แถวๆระหว่างวงโคจรดาวอังคารและดาวพฤหัสสบดี จำนวนที่พบแล้วถึงวันนี้มากกว่า 50,000 ดวง
- กลุ่มดาวเคราะห์น้อยโทรจัน มีสองกลุ่มย่อย กลุ่มละหลายพันดวง วางตัวอยู่ในจุดสมมูลทางแรงโน้มถ่วงที่เกิดจากดาวพฤหัสและดวงอาทิตย์ เคลื่อนที่ตามดาวพฤหัสไปเรื่อยๆ
- แถบดาวเคราะห์น้อยไคเปอร์ วางตัวอยู่นอกเขตดาวเนปจูนไกลออกไปจนถึงขอบนอกๆของระบบสุริยะ คาดการณ์จำนวนไว้มากกว่า 1,000,000 ดวง หรืออาจถึงหลายพันล้านดวง
พวกนี้เป็นสะเก็ดดาวจนถึงปี 2011 ครับ
กำเนิดและอาศัยกันอยู่ทุกวันนี้ได้ดีขึ้นในบางคืนที่ท้องฟ้าปลอดโปร่งแจ่มใส เราอาจเห็นแสงวูบวาบตกลงมาจากฟากฟ้า
เรียกกันว่าดาวตกหรือผีพุ่งไต้แต่ความจริงดาวตกเป็นวัตถุแข็งจำพวกหินหรือเหล็กตกเข้าสู่เขตบรรยากาศโลกด้วย
ความเร็วหลายร้อยกิโลเมตรต่อชั่วโมงแรงเสียดสีกับบรรยากาศทำให้ร้อนจัดหลอมตัวเป็นลูกไฟสว่าง
มีควันเป็นทางยาว หากวัตถุชิ้นเล็กจะลุกไหม้สว่างกลายเป็นไอสลายไป หมด แต่บางก้อนที่มีขนาดใหญ่จะมีเสียงดังคล้ายเสียงยิงปืน
หรือเสียงฟ้าผ่าเมื่อวิ่งผ่านอากาศตกลงมา และหากสลายตัวไม่หมด มักเหลือซากตกลงถึงพื้นโลก เรียกว่า ลูกอุกกาบาต มีขนาด
เล็กใหญ่แตกต่างกัน ตั้งแต่น้ำหนักเพียงไม่กี่กรัมจนถึงก้อนหนึ่งหนักหลาย ๆ ตัน
อุกกาบาตแบ่งตามลักษณะเนื้อในเป็น 3 แบบ คือ อุกกาบาต ชนิด หิน เหล็ก และ เหล็กปนหิน ส่วนใหญ่ ที่พบเป็นอุกกาบาต ชนิดหิน ก้อนใหญ่ที่สุดในโลก ชื่อ จีหลิง (Jiling) ตกที่อำเภอจีหลิง ประเทศจีน เมื่อ 8 มีนาคม 2519 หนักเกือบ 2,000 กิโลกรัม ส่วนอุกกาบาตชนิดเหล็ก ก้อนใหญ่สุดที่ค้นพบคือ โฮบา เวสท์ (Hoba West) ปริมาตรราว 9 ลูกบาศก์เมตร หนักประมาณ 66 ตัน
ตกกลางป่า ในอัฟริกาตะวันออกเฉียงใต้
อุกกาบาตชนิดหินส่วนใหญ่มีลักษณะเหมือนหินบนโลก และมักสลายตัวเพราะลมฟ้าอากาศ ผู้เชี่ยวชาญเท่านั้นที่จะบอกได้ว่าเป็นลูกอุกกาบาต การวิเคราะห์ทำได้โดยตัดผิวอุกกาบาตให้เรียบ ขัดมันแล้วใช้กรดอย่างอ่อนกัด พบโครงสร้างรูปผลึกปรากฏเห็นชัดบนผิวเรียบนั้น ซึ่งเป็นลักษณะ เฉพาะตัวของอุกกาบาต
อุกกาบาตขนาดใหญ่ที่พุ่งชนโลกอย่างแรง ทำให้เกิดหลุมลึกบนพื้นโลกเรียกว่า เครเตอร์ หลุมอุกกาบาตใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่ง คือ หลุมแบริงเยอร์ ในรัฐอะริโซนา สหรัฐอเมริกา คาดว่า เกิดจากอุกกาบาตชนิดเหล็กหนักถึง 1 ล้านตัน เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 30 เมตร ตกกระแทก พื้นโลกเป็นหลุมมหึมา ปากหลุมกว้าง 1,200 เมตร ลึก 170 เมตร ความลึกเท่ากับตึกสูง 40 ชั้นทีเดียว หลุมแบริงเยอร์อายุประมาณ 22,000 ปี แต่ยังมีปีศาจกว้าง 200
กิโลเมตรอยู่ใต้ทะเลที่ยูกาตาน ตัวนั้นคาดว่าใหญ่ราวๆ 10 กิโลเมตร ความเร็วตอนพุ่งปะทะไม่ต่ำกว่า 60 km/s
ผลนะเหรอ ทีเร็กซ์ยังไม่รอดเลยครับพี่ ไดโนเสาร์ตายยกดาว....
ที่รัสเซีย ปี 1908 ก็มีเฮไปทีนึงครับ ไอ้ลูกที่ตกตรงนั้นทำเอาป่าทังกัสกาแหลกไปเลยละ
การลุกใหม้ของอุกกาบาตินั้น โดยมากจะเกิดในชั้นโทรโพสเฟียร์ และสตาร์โตรเฟียร์ อุกกาบาติสามารถเย็นตัวได้เร็วมาก คุณสามารถเก็บมันไปขายไดด้วยนะ ราคาดีเลยละ ที่พวกสมาคมดาราศาสตร์ต่างๆรับซึ้อกัน อุกกาบาติที่มีแมกนีจูดสว่างกว่า 4 จะถูกเรียกว่าไฟร์บอล สว่างกว่า
นั้นที่ 14 แมกนีจูด จะกลายเป็นบอลย์ 17 แมกนีจูดจะกลายเป็นซูเปอร์บอลย์
สัตว์ประหลาดที่รัสเซีย2013 ก็มาแนวเดียวกันครับ ขนาด 17 เมตร หนัก 70000 ตัน พุ่งมาด้วยสุดยอดความเร็ว ระเบิดบนฟ้าสูงในปี2013
ปล่อยโซนิคบูมทำลายล้างไปทั่ว นั่นคืออุกกาบาติโลหะ ที่จ่ายพลังงานร่วม 500 ตัน TNT เชียวนะครับ
คนบาดเจ็บไปเป็นพันๆ นั่นขนาดมันระเบิดบนฟ้าสูงนะ
เขาคาดว่ามันแตกตัวออกมาจากร่างของสัตว์ประหลาดอย่าง 2011eo 40 ซึ่งโชคดีมากครับ ที่ EO ไม่ชนโลก
เพราะถ้าชน มันจะเป็นหายนะครับ มันใหญ่กว่าลูกที่รัสเซีย 2013 อย่างต่ำก็สิบเท่า ถ้าชน มันจะเป็นหายนะระดับระเบิดไฮโดรเจนเป็นร้อยๆลูก
อีกกลุ่มคือสะเก็ดดาวขนาดเล็ก ตั้งแต่ 20-30 เมตรลงไป ณ วันนี้ยังคงแทบเป็นไปไม่ได้ที่จะพบมันในระยะไกล ส่วนใหญ่ของพวกมันพบก่อนผ่านโลกแค่ไม่กี่ชั่วโมง ไม่ก็เข้ามาในบรรยากาศโลกแ้ล้วด้วยซ้ำไป
สะเก็ดดาวขนาดเล็กน่าจะเป็นชนิดที่มีมากที่สุด และอาจพุ่งใส่โลกได้ทุกๆไม่กี่ปี ความเสียหายไม่ได้ร้ายแรงแต่ก็ส่งผลต่อชีวิตและทรัพย์สินหากตกลงเมือง ดังนั้นพวกมันก็อันตราย
พลังงานที่พวกมันมีก็ตั้งแต่ระเบิดลูกเล็กๆไปจนถึงระเบิดนิวเคลียร์ครับ
แต่นอกจากการแบ่งมันตามขนาดแล้ว เรามักแบ่งอุำกกาบาตตามองค์ประกอบของมันอีกด้วยครับ โดยมี 3 ชนิดหลัก (ซึ่งแบ่งย่อยได้อีกร่วม 50 กลุ่ม) ได้แก่
- อุกกาบาตชนิดหิน มีส่วนประกอบเป็นหินซิลิเกตและธาตุเบาเหมือนที่พบในหินบนโลก ความหนาแน่นประมาณ 2-4g/cm3
อุกกาบาตชนิดหิน
- อุกกาบาตชนิดหินผสมโลหะ เหมือนข้างบน แต่มีโลหะปนๆมาด้วย อุกกาบาตกลุ่มนี้มักมีผลึกแร่กระจายอยู่ทั่วภายใน มีความหนาแน่นราวๆ 4-7 g/cm3
อุกกาบาตผสม
- อุกกาบาตชนิดโลหะ มีโลหะเกือบทั้งหมด เป็นอุกกาบาตที่ค่อนข้างสว่างเพราะโลหะสะท้อนแสงดี และหนาแน่นสูงมากตั้งแต่ 7-1x g/cm3
อุกกาบาตชนิดเหล็ก
อันที่จริงพวกที่หนาแน่นน้อยกว่านี้ฃเพราะเป็นชิ้นส่วนน้ำแข็งก็มีครับ หรือหนาแน่นมากกว่านี้ก็มีความเป็นไปได้ แต่พวกนั้นหายาก
อุกกาบาตชนิดโลหะพบได้ยากมากครับ เท่าที่เราทราบมันมีประมาณแค่ 6% ของอุกกาบาตทั้งหมด อีกสองชนิดที่เหลือพอๆกัน
การตีความชนิดของสะเก็ดดาวพอบอกได้จากความสว่างเทียบกับขนาดของมัน ยิ่งสว่างมากก็มีแนวโน้มที่จะเป็นโลหะสูง แต่ถ้ามากเวอร์ๆจะกลายเป็นพวกดาวหางที่เป็นฝุ่นผสมน้ำแข็งแทน ดังนั้นการตรวจสอบว่าสะเก็ดดาวก้อนนึงๆใหญ่ขนาดไหน เร็วเท่าไหร่ เป็นชนิดไหนนั้นไม่ใช่งานง่ายนักครับ...
แค่ขนาดเล็กก็น่ากลัวแล้วครับ อุกกาบาติโลหะนะ ถ้ามันเร็วๆ อุกกาบาติโลหะขนาด 20 เมตร ที่ทำจากโลหะความหนาแน่น
8-9g/cm^3 และพุ่งด้วยความเร็วสัก 100 km/s อาจสร้างพลังงานได้ร่วม 40 MT พระเจ้า นั่นทำลายกรุงเทพได้ทั้งกรุง!
ไซต์ข้อมูล
http://en.wikipedia.org/wiki/Meteoroid
http://student.nu.ac.th/Solarsystem/METEOR.HTM
และของดี ผลงานท่าน ecos pantip
http://ppantip.com/topic/30156079