** เนื่องจากต้องการเสนอข้อมูลอย่างรอบด้านและ ครอบคลุม ดังนั้นเราจะแสดงแหล่งที่มาข้อมูล เพื่อความเป็นธรรมแก่ทุกฝ่าย โดย เราจะนำ ข้อหาของแต่ละฝ่ายมากล่าว และหาข้อเท็จจริงที่น่าเชื่อถือที่สุด โดย หลักฐานเหล่านั้น อาจมาจากราชการ และต้องเป็นข้อมูลที่มีแหล่งที่มา โดยไม่กล่าวขึ้นลอยๆ **
IMF ใครกู้ ความเป็นมา
**( ปมการถกเถียงสองฝ่าย)** ข้อมูลจาก
http://www.bot.or.th/. ,blog oknation , mthai
ปี2540 สมัยรัฐบาล พล.อ. ชวลิต ยงใจยุทธ เป็นนายกรัฐมนตรี ได้ถูก จอร์ช โซลอส โจมตีค่าเงินบาท และรัฐบาลได้ทุ่มเงินกว่า3หมื่นล้านเหรียญต่อสู้ เพื่อพยุงค่าเงินบาทไว้ แต่ผลปรากฏว่าแพ้อย่างราบคาบ จนเงินทุนสำรองเหลือเพียง 800 ล้านเหรียญซึ่งมีผลทำให้เครดิต ของประเทศไม่เป็นที่ยอมรับเพื่อจะทำการค้าระหว่างประเทศ รัฐบาลชวลิต ต้องลอยค่าเงินบาทเป็นผลให้ ค่าของเงินตกต่ำอย่างสุดขีด จากเดิม 25 บาทล่วงไปถึง56บาทต่อ1ดอลล่าร์ และเป็นเหตุให้ รัฐบาล พล.อ.ชวลิต จำเป็นต้องกู้เงินจาก IMFมาเพื่อพยุงสถานะของประเทศเมื่อ 22 กรกฎาคา 2540 จำนวน 17200 ล้านเหรียญ และจากการกู้เงินนี้ ทำให้ประเทศต้องอยู่ในเงินไขของIMF หรือที่เรียกกันว่าLOI ในทุกครั้งที่ไปเบิกเงินกู้ และหลังจากทำสัญญาเงินกู้ได้ 2 วัน ทักษิณ ชินวัตร ก็เข้าร่วมเป็นรองนายกรัฐมนตรีโดยดูแลด้านเศรษฐกิจ LOI ฉบับที่ 1 ทำขึ้นเมื่อ 14 สิงหาคม 2540 ส่วนพรรคประชาธิปัตย์จัดตั้งรัฐบาลหลัง พลเอกชวลิต ประกาศลาออกเมื่อเดือนพฤศจิกายน 2540 แต่ถึงกระนั้นก็มิใช่เรื่องที่จะกล่าวโทษแก่รัฐบาลที่ทำ LOI ฉบับนั้น เนื่องจากในเวลาวิกฤติ ทางเลือกมีอยู่ไม่มาก
ที่มา : ธนาคารแห่งประเทศไทย
หลังจากกู้เงินIMFแล้ว รัฐบาล พล.ชวลิต ยงใจยุทธ ซึ่งมี ทักษิณ ชินวัตร เป็นรองนายกรัฐมนตรี พยายามแก้ปัญหาทางเศรษฐกิจอย่างเต็มที่และได้เบิกเงิน จากIMF มา2งวดแล้ว จำนวนเงิน4000ล้านเหรียญ แต่ไม่สามารถแก้ปัญหาเสรษฐกิจได้ จนต้องยอม ลาออกไปในปลายปี2540
ปี2541 รัฐบาลชวนเข้ามาบริหารงานแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจต่อ และได้เบิกเงินกู้เพิ่มอีก9ครั้ง เป็นจำนวนเงินรวม 10000 ล้านเหรียญ
สรุป รัฐบาล พล.อ. ชวลิต รวมกับ รัฐบาล ชวน กู้เงินเพื่อแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจในครั้งนี้ รวมทั้งสิ้น 4000+10000 = 14000 ล้านเหรียญสหรัฐ (น้อยกว่าที่ทำสัญญากู้กับ IMF 3200 ล้านเหรียญ)
ตั้งแต่ปลายปี 2543-2545 เงินกู้จำนวนดังกล่าวได้ถูกทยอยใช้หนี้มาโดยตลอด จนเหลือหนี้ 4800 ล้าน
ในปี 2546 ดอกเบี้ยเงินฝากภายในประเทศเฉลี่ยปีละ 8% ในขณะที่IMF คิดดอกเบี้ยจากเราแค่ 0.25% และอีกประการหนึ่งที่สำคัญคือ ถ้าจ่ายหนี้ก่อนกำหนด ต้องเสียค่าปรับอีก 2%
ถ้าตอนนั้น เรามีเงิน 4800 ล้านเหรียญ แปลงเป็นเงินไทย อัตราแลกเปลี่ยนตอนนั้น 41 บาทต่อดอล่าร์ คิดเป้นเงินไทย 196,800 ล้านบาท เอาฝากธนาคารไว้ 2ปี หักภาษีแล้วจะได้ ดอกเบี้ย ประมาณ 28000 ล้านบาท และ เสียดอกเบี้ยให้ IMF 2ปี จำนวน 984 ล้านบาท คงเหลือกำไร กว่า 27000 ล้านบาท
Cr
http://historythaiconflic.blogspot.com/2012/03/imf.html
aumstar ไส่ร้าย ลุงเห๊ดโคนนะครับ
IMF ใครกู้ ความเป็นมา
**( ปมการถกเถียงสองฝ่าย)** ข้อมูลจาก http://www.bot.or.th/. ,blog oknation , mthai
ปี2540 สมัยรัฐบาล พล.อ. ชวลิต ยงใจยุทธ เป็นนายกรัฐมนตรี ได้ถูก จอร์ช โซลอส โจมตีค่าเงินบาท และรัฐบาลได้ทุ่มเงินกว่า3หมื่นล้านเหรียญต่อสู้ เพื่อพยุงค่าเงินบาทไว้ แต่ผลปรากฏว่าแพ้อย่างราบคาบ จนเงินทุนสำรองเหลือเพียง 800 ล้านเหรียญซึ่งมีผลทำให้เครดิต ของประเทศไม่เป็นที่ยอมรับเพื่อจะทำการค้าระหว่างประเทศ รัฐบาลชวลิต ต้องลอยค่าเงินบาทเป็นผลให้ ค่าของเงินตกต่ำอย่างสุดขีด จากเดิม 25 บาทล่วงไปถึง56บาทต่อ1ดอลล่าร์ และเป็นเหตุให้ รัฐบาล พล.อ.ชวลิต จำเป็นต้องกู้เงินจาก IMFมาเพื่อพยุงสถานะของประเทศเมื่อ 22 กรกฎาคา 2540 จำนวน 17200 ล้านเหรียญ และจากการกู้เงินนี้ ทำให้ประเทศต้องอยู่ในเงินไขของIMF หรือที่เรียกกันว่าLOI ในทุกครั้งที่ไปเบิกเงินกู้ และหลังจากทำสัญญาเงินกู้ได้ 2 วัน ทักษิณ ชินวัตร ก็เข้าร่วมเป็นรองนายกรัฐมนตรีโดยดูแลด้านเศรษฐกิจ LOI ฉบับที่ 1 ทำขึ้นเมื่อ 14 สิงหาคม 2540 ส่วนพรรคประชาธิปัตย์จัดตั้งรัฐบาลหลัง พลเอกชวลิต ประกาศลาออกเมื่อเดือนพฤศจิกายน 2540 แต่ถึงกระนั้นก็มิใช่เรื่องที่จะกล่าวโทษแก่รัฐบาลที่ทำ LOI ฉบับนั้น เนื่องจากในเวลาวิกฤติ ทางเลือกมีอยู่ไม่มาก
ที่มา : ธนาคารแห่งประเทศไทย
หลังจากกู้เงินIMFแล้ว รัฐบาล พล.ชวลิต ยงใจยุทธ ซึ่งมี ทักษิณ ชินวัตร เป็นรองนายกรัฐมนตรี พยายามแก้ปัญหาทางเศรษฐกิจอย่างเต็มที่และได้เบิกเงิน จากIMF มา2งวดแล้ว จำนวนเงิน4000ล้านเหรียญ แต่ไม่สามารถแก้ปัญหาเสรษฐกิจได้ จนต้องยอม ลาออกไปในปลายปี2540
ปี2541 รัฐบาลชวนเข้ามาบริหารงานแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจต่อ และได้เบิกเงินกู้เพิ่มอีก9ครั้ง เป็นจำนวนเงินรวม 10000 ล้านเหรียญ
สรุป รัฐบาล พล.อ. ชวลิต รวมกับ รัฐบาล ชวน กู้เงินเพื่อแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจในครั้งนี้ รวมทั้งสิ้น 4000+10000 = 14000 ล้านเหรียญสหรัฐ (น้อยกว่าที่ทำสัญญากู้กับ IMF 3200 ล้านเหรียญ)
ตั้งแต่ปลายปี 2543-2545 เงินกู้จำนวนดังกล่าวได้ถูกทยอยใช้หนี้มาโดยตลอด จนเหลือหนี้ 4800 ล้าน
ในปี 2546 ดอกเบี้ยเงินฝากภายในประเทศเฉลี่ยปีละ 8% ในขณะที่IMF คิดดอกเบี้ยจากเราแค่ 0.25% และอีกประการหนึ่งที่สำคัญคือ ถ้าจ่ายหนี้ก่อนกำหนด ต้องเสียค่าปรับอีก 2%
ถ้าตอนนั้น เรามีเงิน 4800 ล้านเหรียญ แปลงเป็นเงินไทย อัตราแลกเปลี่ยนตอนนั้น 41 บาทต่อดอล่าร์ คิดเป้นเงินไทย 196,800 ล้านบาท เอาฝากธนาคารไว้ 2ปี หักภาษีแล้วจะได้ ดอกเบี้ย ประมาณ 28000 ล้านบาท และ เสียดอกเบี้ยให้ IMF 2ปี จำนวน 984 ล้านบาท คงเหลือกำไร กว่า 27000 ล้านบาท
Cr http://historythaiconflic.blogspot.com/2012/03/imf.html