คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 1
ข้าวเหนียวและข้าวเจ้า ... มีแป้ง-หลักอยู่ 2 ชนิด
1) Amylose
2) Amylopectin
ข้าวเหนียว มี Amylose ต่ำ ( จำ% ไม่ได้ พอๆกับข้าวหอม) ส่วนที่เหลือคือ Amylopectin
และเจ้า Amylose นี่เอง ที่มีผลกับอุณหภูมิแป้งสุกและการพองตัว หรือ ขึ้นหม้อ
เมื่อแป้งสุกจะแป้งจะกลายเป็น gel ที่เป็นสีใสๆ
สรุปข้าวเจ้า vs ข้าวเหนียว ต่างกันที่ Amylose content ซึ่งมีผลกับการเป็นเจล (gel) สีใสหรือขุ่น..เมื่อแป้งสุก
1) Amylose
2) Amylopectin
ข้าวเหนียว มี Amylose ต่ำ ( จำ% ไม่ได้ พอๆกับข้าวหอม) ส่วนที่เหลือคือ Amylopectin
และเจ้า Amylose นี่เอง ที่มีผลกับอุณหภูมิแป้งสุกและการพองตัว หรือ ขึ้นหม้อ
เมื่อแป้งสุกจะแป้งจะกลายเป็น gel ที่เป็นสีใสๆ
สรุปข้าวเจ้า vs ข้าวเหนียว ต่างกันที่ Amylose content ซึ่งมีผลกับการเป็นเจล (gel) สีใสหรือขุ่น..เมื่อแป้งสุก
หมีตะกร้า ถูกใจ, สมาชิกหมายเลข 740164 ทึ่ง, สมาชิกหมายเลข 706916 ถูกใจ, kojung08 ถูกใจ, พาระวี ถูกใจ, Partita ถูกใจ, สมาชิกหมายเลข 753423 ถูกใจ, jamegem ถูกใจ, Kim-Ha ถูกใจ, kapream ถูกใจรวมถึงอีก 1 คน ร่วมแสดงความรู้สึก
▼ กำลังโหลดข้อมูล... ▼
แสดงความคิดเห็น
คุณสามารถแสดงความคิดเห็นกับกระทู้นี้ได้ด้วยการเข้าสู่ระบบ
ข้าวเหนียวกับข้าวจ้าว ทำไมสีของข้าวทั้งสอง..ก่อนหุงกับหลังหุง..ถึงสลับกันหรอครับ
ส่วนข้าวจ้าวหรือข้าวสารธรรมดาทั่วไป จะเป็นเม็ดใสๆหน่อย ไม่ถึงกับขาวมากเหมือนข้าวเหนียว
แต่พอหุงเสร็จแล้ว ...
ข้าวเหนียวกลับเป็นเม็ดสีใสๆขุ่นๆแทน (ไม่ขาวจั๊วเหมือนเดิม)
ส่วนข้าวจ้าวก็กลายเป็นเม็ดสีขาวแทนเลยครับ
เพราะอะไรหรอครับ ใครพอะมีคำอธิบายบ้างครับผม ขอบคุณครับ
ปล. ขออภัยไม่มีรูปมาให้ดูครับ
ปล.2 ผมลองค้นจาก ศ.ดร.google แล้ว ไม่เจอน่ะครับ