ปกติเราเจอตะขาบในที่นอนหรือตาม บ้าน เราก็แทบช็อคแล้วถ้าเกินเราไปเที่ยวป่าแล้วเจอตัวใหญ่ละจะทำไง แล้วสัตว์ที่ชื่อว่า ตะบองพลำ มีจริงหรือเปล่า
สามารถกินช้างได้ภายในเวลาไม่นาน
ตะบองพลำ ชื่อนี้หลายท่านอาจเคยได้ยินจากเรื่อง "สัตวาภิธาน" ในหนังสือ "ทักษะสัมพันธ์" (เรียนช่วง ม.ต้นเนี่ยแหละ จำไม่ได้ว่า ม.1 หรือ ม.2) ประพันธ์โดย พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) โดยคุณเจ้าตัวตะบองพลำเนี่ย มันไปสะกิดต่อมอยากรู้ ตรงบทกลอนที่ว่า
"ตะบองพลำใหญ่ยง
อยู่ในป่าดง
ตัวดุจตะขาบไฟแดง
มีพิษมีฤทธิ์เรี่ยวแรง
พบช้างกลางแปลง
เข้าปล้ำเข้ารัดกัดกิน"
"ตะบองพลำ" เป็นตะขาบป่าชนิดหนึ่ง มีขนาดค่อนข้างใหญ่มาก โดยทั่วไปที่พบเห็นยาวประมาณ 1 ฟุต ตัวของมันจะมีสีออกแดง ค่อนไปทางแดงเพลิง ผิดกว่าตะขาบทั่ว ๆ ไป (คงคล้ายๆตะขาบไฟ) แล้วก็มีพิษร้ายแรงมาก ขนาดที่สามารถกัดช้างล้มได้ อาศัยอยู่ในป่าทางภาคใต้ (แต่เคยได้ยินด้วยว่า มันเคยอาศัยอยู่ในป่าดงพญาเย็นเหมือนกันนะ จำไม่ได้แล้วเหมือนกันว่าเคยได้ยินจากไหน) เจ้าตัวนี้สูญพันธุ์ไปช่วงราวๆ รัชกาลที่ 5
มีเรื่องเล่าของนักเดินทางคนหนึ่ง อ้างไว้ว่า ได้ไปเจอ "ปล้อง" ของ มันแขวนอยู่ในหมู่บ้านแถวๆ ภาคใต้ ว่ากันว่า ปล้องนั้นใหญ่เท่ากระด้งฝัดข้าวเลยทีเดียว ถึงขนาดที่ว่า ถ้าเสือมาเจอปล้องนี้เข้าไป ยังต้องเผ่นกลับป่าไปเลยทีเดียว อืมม... แต่ว่า ถ้าเราลองคิดเล่นๆ ดูแล้ว
ถ้า 1 ปล้องใหญ่เท่ากับ 1 กระด้ง
1กระด้ง มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 2 ฟุต
ตะขาบหนึ่งตัว มีปล้องราวๆ 30 - 40 ปล้อง (กะคร่าวๆ เพราะไม่เคยนับ และไม่คิดอยากจะนับด้วย)
30 x 2 = 60 ฟุต
60 ฟุต = 18.28800 เมตร !!!
ขอบคุณที่มา :
http://www.soccersuck.com/soccer/viewtopic.php?t=714091
ตะบองพลำ มีจริงหรือเปล่า ตะขาบตัวใหญ่ในอดีต สมัยรัชกาลที่5
สามารถกินช้างได้ภายในเวลาไม่นาน
ตะบองพลำ ชื่อนี้หลายท่านอาจเคยได้ยินจากเรื่อง "สัตวาภิธาน" ในหนังสือ "ทักษะสัมพันธ์" (เรียนช่วง ม.ต้นเนี่ยแหละ จำไม่ได้ว่า ม.1 หรือ ม.2) ประพันธ์โดย พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) โดยคุณเจ้าตัวตะบองพลำเนี่ย มันไปสะกิดต่อมอยากรู้ ตรงบทกลอนที่ว่า
"ตะบองพลำใหญ่ยง
อยู่ในป่าดง
ตัวดุจตะขาบไฟแดง
มีพิษมีฤทธิ์เรี่ยวแรง
พบช้างกลางแปลง
เข้าปล้ำเข้ารัดกัดกิน"
"ตะบองพลำ" เป็นตะขาบป่าชนิดหนึ่ง มีขนาดค่อนข้างใหญ่มาก โดยทั่วไปที่พบเห็นยาวประมาณ 1 ฟุต ตัวของมันจะมีสีออกแดง ค่อนไปทางแดงเพลิง ผิดกว่าตะขาบทั่ว ๆ ไป (คงคล้ายๆตะขาบไฟ) แล้วก็มีพิษร้ายแรงมาก ขนาดที่สามารถกัดช้างล้มได้ อาศัยอยู่ในป่าทางภาคใต้ (แต่เคยได้ยินด้วยว่า มันเคยอาศัยอยู่ในป่าดงพญาเย็นเหมือนกันนะ จำไม่ได้แล้วเหมือนกันว่าเคยได้ยินจากไหน) เจ้าตัวนี้สูญพันธุ์ไปช่วงราวๆ รัชกาลที่ 5
มีเรื่องเล่าของนักเดินทางคนหนึ่ง อ้างไว้ว่า ได้ไปเจอ "ปล้อง" ของ มันแขวนอยู่ในหมู่บ้านแถวๆ ภาคใต้ ว่ากันว่า ปล้องนั้นใหญ่เท่ากระด้งฝัดข้าวเลยทีเดียว ถึงขนาดที่ว่า ถ้าเสือมาเจอปล้องนี้เข้าไป ยังต้องเผ่นกลับป่าไปเลยทีเดียว อืมม... แต่ว่า ถ้าเราลองคิดเล่นๆ ดูแล้ว
ถ้า 1 ปล้องใหญ่เท่ากับ 1 กระด้ง
1กระด้ง มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 2 ฟุต
ตะขาบหนึ่งตัว มีปล้องราวๆ 30 - 40 ปล้อง (กะคร่าวๆ เพราะไม่เคยนับ และไม่คิดอยากจะนับด้วย)
30 x 2 = 60 ฟุต
60 ฟุต = 18.28800 เมตร !!!
ขอบคุณที่มา : http://www.soccersuck.com/soccer/viewtopic.php?t=714091