คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 5
ขออนุโมทนาสาธุด้วยค่ะ
๑. อานิสงส์สูงสุดแห่งอานาปานสติ ๒ ประการ
มหาวาร. สํ. ๑๙/๓๙๖-๓๙๗/๑๓๑๑-๑๓๑๓.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/item.php?book=19&item=1311&items=3&preline=0
๒. อานิสงส์แห่งอานาปานสติ ๗ ประการ
มหาวาร. สํ. ๑๙/๓๙๗/๑๓๑๔-๑๓๑๖.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/item.php?book=19&item=1314&items=3&preline=0
๓. เจริญอานาปานสติ เป็นเหตุให้ สติปัฏฐาน ๔ โพชฌงค์ ๗ วิชชาและวิมุตติ บริบูรณ์
- อานาปานสติบริบูรณ์ ย่อมทำสติปัฏฐานให้บริบูรณ์
- อานาปานสติบริบูรณ์ ย่อมทำสติปัฏฐานให้บริบูรณ์
- โพชฌงค์บริบูรณ์ ย่อมทำวิชชาและวิมุตติให้บริบูรณ์
มหาวาร. สํ. ๑๙/๔๒๔/๑๔๐๒-๑๔๐๓.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/item.php?book=19&item=1402&items=2&preline=0
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
๔. เจริญอานาปานสติ เป็นเหตุให้ สติปัฏฐาน ๔ โพฌชงค์ ๗ วิชชาและวิมุตติ บริบูรณ์ (อีกสูตรหนึ่ง)
- สติปัฏฐานบริบูรณ์ เพราะอานาปานสติบริบูรณ์
- โพชฌงค์บริบูรณ์ เพราะสติปัฏฐานบริบูรณ์
- วิชชาและวิมุตติบริบูรณ์ เพราะโพชฌงค์บริบูรณ์
อุปริ. ม. ๑๔/๑๙๐-๒๐๑/๒๘๒-๒๙๑.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/item.php?book=14&item=282&items=10&preline=0
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
๕. การเจริญอานาปานสติ (ตามนัยแห่งมหาสติปัฏฐานสูตร)
มหา. ที. ๑๐/๓๒๒-๓๒๔/๒๗๔.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/item.php?book=10&item=274&items=1&preline=0
มู. ม. ๑๒/๑๐๓-๑๐๕/๑๓๓.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/item.php?book=12&item=133&items=1&preline=0
๖. เมื่อเจริญอานาปานสติ ก็ชื่อว่าเจริญกายคตาสติ
อุปริ. ม. ๑๔/๒๐๔/๒๙๔.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/item.php?book=14&item=294&items=1&preline=0
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
๗. อานาปานสติ เป็นเหตุให้ถึงซึ่งนิพพาน
เอก. อํ. ๒๐/๓๙-๔๐/๑๗๙–๑๘๐.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/item.php?book=20&item=179&items=2&preline=0
๘. อานาปานสติสมาธิ เป็นเหตุให้ละสังโยชน์ได้
มหาวาร. สํ. ๑๙/๔๒๖-๔๒๗/๑๔๐๖-๑๔๐๗.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/item.php?book=19&item=1406&items=2&preline=0
๙. อานาปานสติสมาธิ สามารถกำจัดเสียได้ซึ่งอนุสัย
มหาวาร. สํ. ๑๙/๔๒๖/๑๔๐๘.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/item.php?book=19&item=1408&items=1&preline=0
๑๐. อานาปานสติสมาธิ เป็นเหตุให้รอบรู้ซึ่งทางไกล (อวิชชา)
มหาวาร. สํ. ๑๙/๔๒๖/๑๔๐๙.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/item.php?book=19&item=1409&items=1&preline=0
๑๑. อานาปานสติสมาธิ เป็นเหตุให้สิ้นอาสวะ
มหาวาร. สํ. ๑๙/๔๒๖/๑๔๑๐.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/item.php?book=19&item=1410&items=1&preline=0
๑๒. แบบการเจริญอานาปานสติที่มีผลมาก (แบบที่หนึ่ง)
มหาวาร. สํ. ๑๙/๓๙๔/๑๓๐๕-๑๓๐๖.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/item.php?book=19&item=1305&items=2&preline=0
๑๓. เจริญอานาปานสติ มีอานิสงส์เป็นเอนกประการ
- จิตหลุดพ้นจากอาสวะ
- ละความดำริอันอาศัยเรือน
- ควบคุมความรู้สึกเกี่ยวความไม่ปฏิกูล
- เป็นเหตุให้ได้สมาธิในระดับรูปสัญญาทั้งสี่
- เป็นเหตุให้ได้สมาธิในระดับอรูปสัญญาทั้งสี่
- เป็นเหตุให้ได้สัญญาเวทยิตนิโรธ
- รู้ต่อเวทนาทุกประการ
มหาวาร. สํ. ๑๙/๔๐๐-๔๐๔/๑๓๒๗-๑๓๔๗.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/item.php?book=19&item=1327&items=21&preline=0
๑๔. แบบการเจริญอานาปานสติที่มีผลมาก (แบบที่สอง)
มหาวาร. สํ. ๑๙/๓๙๕/๑๓๐๗-๑๓๐๘.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/item.php?book=19&item=1307&items=2&preline=0
๑๕. เจริญอานาปานสติมีอานิสงส์เป็นเอนกประการ (อีกสูตรหนึ่ง)
- ได้บรรลุมรรคผลในปัจจุบัน
- เพื่อประโยชน์มาก
- เพื่อความเกษมจากโยคะมาก
- เพื่อความสังเวชมาก
- เพื่ออยู่เป็นผาสุกมาก
มหาวาร. สํ. ๑๙/๑๘๑/๖๕๕.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/item.php?book=19&item=655&items=1&preline=0
๑๖. เจริญอานาปานสติ ชื่อว่าไม่เหินห่างจากฌาน
เอก. อํ. ๒๐/๕๔-๕๕/๒๒๔.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/item.php?book=20&item=224&items=1&preline=0
๑๗. อานาปานสติ : เป็นสุขวิหาร ระงับได้ซึ่งอกุศล
มหาวาร. สํ. ๑๙/๔๐๖/๑๓๕๒-๑๓๕๔.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/item.php?book=19&item=1352&items=3&preline=0
มหา. วิ. ๑/๑๒๘-๑๓๑/๑๗๖-๑๗๘.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/item.php?book=1&item=176&items=3&preline=0
๑๘. อานาปานสติ : สามารถกำจัดบาปอกุศลได้ทุกทิศทาง
มหาวาร. สํ. ๑๙/๔๐๘/๑๓๕๗.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/item.php?book=19&item=1357&items=1&preline=0
๑๙. อานาปานสติ : ละได้เสียซึ่งความฟุ้งซ่าน
ฉกฺก. อํ. ๒๒/๔๙๘/๓๘๖.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/item.php?book=22&item=386&items=1&preline=0
๒๐. อานาปานสติ : ละเสียได้ซึ่งความคับแค้น
อิติวุ. ขุ. ๒๕/๒๙๒–๒๙๓/๒๖๔.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/item.php?book=25&item=264&items=1&preline=0
๒๑. อานาปานสติ : วิหารธรรมของพระอริยเจ้า
มหาวาร. สํ. ๑๙/๔๑๒-๔๒๓/๑๓๖๔-๑๓๖๘.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/item.php?book=19&item=1364&items=5&preline=0
๒๒. เจริญอานาปานสติ : ความหวั่นไหวโยกโคลงแห่งกายและจิต ย่อมมีขึ้นไม่ได้
มหาวาร. สํ. ๑๙/๓๙๙-๔๐๐/๑๓๒๒-๑๓๒๖.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/item.php?book=19&item=1322&items=5&preline=0
๒๓. เจริญอานาปานสติ เป็นเหตุให้รู้ลมหายใจ อันมีเป็นครั้งสุดท้าย ก่อนเสียชีวิต
ม. ม. ๑๓/๑๔๐-๑๔๒/๑๔๖.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/item.php?book=13&item=146&items=1&preline=0
๒๔. ธรรมเป็นเครื่องถอนอัส๎มิมานะในปัจจุบัน
นวก. อํ. ๒๓/๓๖๓/๒๐๕.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/item.php?book=23&item=205&items=1&preline=0
๒๕. วิธีการบ่มวิมุตติให้ถึงที่สุด
นวก. อํ. ๒๓/๓๖๙/๒๐๗.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/item.php?book=23&item=207&items=1&preline=0
อุ. ขุ. ๒๕/๑๒๖-๑๒๙/๘๘-๘๙.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/item.php?book=25&item=88&items=2&preline=0
๒๖. สัญญา ๑๐ ประการ ในฐานะแห่งการรักษาโรคด้วยอำนาจสมาธิ
ทสก. อํ. ๒๔/๑๑๕-๑๒๐/๖๐.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/item.php?book=24&item=60&items=1&preline=0
ธรรมะแวดล้อม
๒๗. ธรรมเป็นอุปการะเฉพาะแก่อานาปานสติภาวนา
- (นัยที่หนึ่ง) ปญฺจก. อํ. ๒๒/๑๓๕/๙๖.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/item.php?book=22&item=96&items=1&preline=0
- (นัยที่สอง) ปญฺจก. อํ. ๒๒/๑๓๖/๙๗.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/item.php?book=22&item=97&items=1&preline=0
- (นัยที่สาม) ปญฺจก. อํ. ๒๒/๑๓๖/๙๘.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/item.php?book=22&item=98&items=1&preline=0
๒๘. นิวรณ์เป็นเครื่องทำกระแสจิตไม่ให้รวมกำลัง
ปญฺจก. อํ. ๒๒/๗๒/๕๑.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/item.php?book=22&item=51&items=1&preline=0
๒๙. นิวรณ์-ข้าศึกแห่งสมาธิ
สี. ที. ๙/๓๐๖-๓๐๗/๓๗๘-๓๗๙.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/item.php?book=9&item=378&items=2&preline=0
๓๐. ข้อควรระวัง ในการเจริญสติปัฏฐานสี่
อุปริ. ม. ๑๔/๒๖๘-๒๗๐/๓๙๖-๔๐๑.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/item.php?book=14&item=396&items=6&preline=0
๓๑. เหตุปัจจัยที่พระศาสนาจะตั้งอยู่นาน ภายหลังพุทธปรินิพพาน
มหาวาร. สํ. ๑๙/๒๓๒/๗๗๘-๗๗๙.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/item.php?book=19&item=778&items=2&preline=0
๓๒. อานิสงส์แห่งกายคตาสติ
เอก. อํ. ๒๐/๕๕-๖๐/๒๒๕-๒๔๖.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/item.php?book=20&item=225&items=22&preline=0
อิงหัวข้อและข้อมูลจาก คห.#1 นะคะ
เราแวะมาใส่ลิงค์เพิ่มให้ ยังไงก็รบกวนเช็คอีกทีนะคะ เพื่อความถูกต้องแม่นยำ เผื่อเราตกหล่นไป
ขออนุโมทนาสาธุด้วยค่ะ
๑. อานิสงส์สูงสุดแห่งอานาปานสติ ๒ ประการ
มหาวาร. สํ. ๑๙/๓๙๖-๓๙๗/๑๓๑๑-๑๓๑๓.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/item.php?book=19&item=1311&items=3&preline=0
๒. อานิสงส์แห่งอานาปานสติ ๗ ประการ
มหาวาร. สํ. ๑๙/๓๙๗/๑๓๑๔-๑๓๑๖.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/item.php?book=19&item=1314&items=3&preline=0
๓. เจริญอานาปานสติ เป็นเหตุให้ สติปัฏฐาน ๔ โพชฌงค์ ๗ วิชชาและวิมุตติ บริบูรณ์
- อานาปานสติบริบูรณ์ ย่อมทำสติปัฏฐานให้บริบูรณ์
- อานาปานสติบริบูรณ์ ย่อมทำสติปัฏฐานให้บริบูรณ์
- โพชฌงค์บริบูรณ์ ย่อมทำวิชชาและวิมุตติให้บริบูรณ์
มหาวาร. สํ. ๑๙/๔๒๔/๑๔๐๒-๑๔๐๓.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/item.php?book=19&item=1402&items=2&preline=0
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
๔. เจริญอานาปานสติ เป็นเหตุให้ สติปัฏฐาน ๔ โพฌชงค์ ๗ วิชชาและวิมุตติ บริบูรณ์ (อีกสูตรหนึ่ง)
- สติปัฏฐานบริบูรณ์ เพราะอานาปานสติบริบูรณ์
- โพชฌงค์บริบูรณ์ เพราะสติปัฏฐานบริบูรณ์
- วิชชาและวิมุตติบริบูรณ์ เพราะโพชฌงค์บริบูรณ์
อุปริ. ม. ๑๔/๑๙๐-๒๐๑/๒๘๒-๒๙๑.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/item.php?book=14&item=282&items=10&preline=0
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
๕. การเจริญอานาปานสติ (ตามนัยแห่งมหาสติปัฏฐานสูตร)
มหา. ที. ๑๐/๓๒๒-๓๒๔/๒๗๔.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/item.php?book=10&item=274&items=1&preline=0
มู. ม. ๑๒/๑๐๓-๑๐๕/๑๓๓.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/item.php?book=12&item=133&items=1&preline=0
๖. เมื่อเจริญอานาปานสติ ก็ชื่อว่าเจริญกายคตาสติ
อุปริ. ม. ๑๔/๒๐๔/๒๙๔.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/item.php?book=14&item=294&items=1&preline=0
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
๗. อานาปานสติ เป็นเหตุให้ถึงซึ่งนิพพาน
เอก. อํ. ๒๐/๓๙-๔๐/๑๗๙–๑๘๐.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/item.php?book=20&item=179&items=2&preline=0
๘. อานาปานสติสมาธิ เป็นเหตุให้ละสังโยชน์ได้
มหาวาร. สํ. ๑๙/๔๒๖-๔๒๗/๑๔๐๖-๑๔๐๗.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/item.php?book=19&item=1406&items=2&preline=0
๙. อานาปานสติสมาธิ สามารถกำจัดเสียได้ซึ่งอนุสัย
มหาวาร. สํ. ๑๙/๔๒๖/๑๔๐๘.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/item.php?book=19&item=1408&items=1&preline=0
๑๐. อานาปานสติสมาธิ เป็นเหตุให้รอบรู้ซึ่งทางไกล (อวิชชา)
มหาวาร. สํ. ๑๙/๔๒๖/๑๔๐๙.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/item.php?book=19&item=1409&items=1&preline=0
๑๑. อานาปานสติสมาธิ เป็นเหตุให้สิ้นอาสวะ
มหาวาร. สํ. ๑๙/๔๒๖/๑๔๑๐.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/item.php?book=19&item=1410&items=1&preline=0
๑๒. แบบการเจริญอานาปานสติที่มีผลมาก (แบบที่หนึ่ง)
มหาวาร. สํ. ๑๙/๓๙๔/๑๓๐๕-๑๓๐๖.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/item.php?book=19&item=1305&items=2&preline=0
๑๓. เจริญอานาปานสติ มีอานิสงส์เป็นเอนกประการ
- จิตหลุดพ้นจากอาสวะ
- ละความดำริอันอาศัยเรือน
- ควบคุมความรู้สึกเกี่ยวความไม่ปฏิกูล
- เป็นเหตุให้ได้สมาธิในระดับรูปสัญญาทั้งสี่
- เป็นเหตุให้ได้สมาธิในระดับอรูปสัญญาทั้งสี่
- เป็นเหตุให้ได้สัญญาเวทยิตนิโรธ
- รู้ต่อเวทนาทุกประการ
มหาวาร. สํ. ๑๙/๔๐๐-๔๐๔/๑๓๒๗-๑๓๔๗.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/item.php?book=19&item=1327&items=21&preline=0
๑๔. แบบการเจริญอานาปานสติที่มีผลมาก (แบบที่สอง)
มหาวาร. สํ. ๑๙/๓๙๕/๑๓๐๗-๑๓๐๘.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/item.php?book=19&item=1307&items=2&preline=0
๑๕. เจริญอานาปานสติมีอานิสงส์เป็นเอนกประการ (อีกสูตรหนึ่ง)
- ได้บรรลุมรรคผลในปัจจุบัน
- เพื่อประโยชน์มาก
- เพื่อความเกษมจากโยคะมาก
- เพื่อความสังเวชมาก
- เพื่ออยู่เป็นผาสุกมาก
มหาวาร. สํ. ๑๙/๑๘๑/๖๕๕.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/item.php?book=19&item=655&items=1&preline=0
๑๖. เจริญอานาปานสติ ชื่อว่าไม่เหินห่างจากฌาน
เอก. อํ. ๒๐/๕๔-๕๕/๒๒๔.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/item.php?book=20&item=224&items=1&preline=0
๑๗. อานาปานสติ : เป็นสุขวิหาร ระงับได้ซึ่งอกุศล
มหาวาร. สํ. ๑๙/๔๐๖/๑๓๕๒-๑๓๕๔.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/item.php?book=19&item=1352&items=3&preline=0
มหา. วิ. ๑/๑๒๘-๑๓๑/๑๗๖-๑๗๘.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/item.php?book=1&item=176&items=3&preline=0
๑๘. อานาปานสติ : สามารถกำจัดบาปอกุศลได้ทุกทิศทาง
มหาวาร. สํ. ๑๙/๔๐๘/๑๓๕๗.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/item.php?book=19&item=1357&items=1&preline=0
๑๙. อานาปานสติ : ละได้เสียซึ่งความฟุ้งซ่าน
ฉกฺก. อํ. ๒๒/๔๙๘/๓๘๖.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/item.php?book=22&item=386&items=1&preline=0
๒๐. อานาปานสติ : ละเสียได้ซึ่งความคับแค้น
อิติวุ. ขุ. ๒๕/๒๙๒–๒๙๓/๒๖๔.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/item.php?book=25&item=264&items=1&preline=0
๒๑. อานาปานสติ : วิหารธรรมของพระอริยเจ้า
มหาวาร. สํ. ๑๙/๔๑๒-๔๒๓/๑๓๖๔-๑๓๖๘.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/item.php?book=19&item=1364&items=5&preline=0
๒๒. เจริญอานาปานสติ : ความหวั่นไหวโยกโคลงแห่งกายและจิต ย่อมมีขึ้นไม่ได้
มหาวาร. สํ. ๑๙/๓๙๙-๔๐๐/๑๓๒๒-๑๓๒๖.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/item.php?book=19&item=1322&items=5&preline=0
๒๓. เจริญอานาปานสติ เป็นเหตุให้รู้ลมหายใจ อันมีเป็นครั้งสุดท้าย ก่อนเสียชีวิต
ม. ม. ๑๓/๑๔๐-๑๔๒/๑๔๖.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/item.php?book=13&item=146&items=1&preline=0
๒๔. ธรรมเป็นเครื่องถอนอัส๎มิมานะในปัจจุบัน
นวก. อํ. ๒๓/๓๖๓/๒๐๕.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/item.php?book=23&item=205&items=1&preline=0
๒๕. วิธีการบ่มวิมุตติให้ถึงที่สุด
นวก. อํ. ๒๓/๓๖๙/๒๐๗.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/item.php?book=23&item=207&items=1&preline=0
อุ. ขุ. ๒๕/๑๒๖-๑๒๙/๘๘-๘๙.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/item.php?book=25&item=88&items=2&preline=0
๒๖. สัญญา ๑๐ ประการ ในฐานะแห่งการรักษาโรคด้วยอำนาจสมาธิ
ทสก. อํ. ๒๔/๑๑๕-๑๒๐/๖๐.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/item.php?book=24&item=60&items=1&preline=0
ธรรมะแวดล้อม
๒๗. ธรรมเป็นอุปการะเฉพาะแก่อานาปานสติภาวนา
- (นัยที่หนึ่ง) ปญฺจก. อํ. ๒๒/๑๓๕/๙๖.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/item.php?book=22&item=96&items=1&preline=0
- (นัยที่สอง) ปญฺจก. อํ. ๒๒/๑๓๖/๙๗.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/item.php?book=22&item=97&items=1&preline=0
- (นัยที่สาม) ปญฺจก. อํ. ๒๒/๑๓๖/๙๘.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/item.php?book=22&item=98&items=1&preline=0
๒๘. นิวรณ์เป็นเครื่องทำกระแสจิตไม่ให้รวมกำลัง
ปญฺจก. อํ. ๒๒/๗๒/๕๑.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/item.php?book=22&item=51&items=1&preline=0
๒๙. นิวรณ์-ข้าศึกแห่งสมาธิ
สี. ที. ๙/๓๐๖-๓๐๗/๓๗๘-๓๗๙.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/item.php?book=9&item=378&items=2&preline=0
๓๐. ข้อควรระวัง ในการเจริญสติปัฏฐานสี่
อุปริ. ม. ๑๔/๒๖๘-๒๗๐/๓๙๖-๔๐๑.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/item.php?book=14&item=396&items=6&preline=0
๓๑. เหตุปัจจัยที่พระศาสนาจะตั้งอยู่นาน ภายหลังพุทธปรินิพพาน
มหาวาร. สํ. ๑๙/๒๓๒/๗๗๘-๗๗๙.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/item.php?book=19&item=778&items=2&preline=0
๓๒. อานิสงส์แห่งกายคตาสติ
เอก. อํ. ๒๐/๕๕-๖๐/๒๒๕-๒๔๖.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/item.php?book=20&item=225&items=22&preline=0
อิงหัวข้อและข้อมูลจาก คห.#1 นะคะ
เราแวะมาใส่ลิงค์เพิ่มให้ ยังไงก็รบกวนเช็คอีกทีนะคะ เพื่อความถูกต้องแม่นยำ เผื่อเราตกหล่นไป
สุดยอดความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น
ถามพระไตรปิฎกที่เกี่ยวกับอานาปานสติ
ผมกำลังจะทำการรวบรวมสื่อสำหรับผู้เริ่มต้นปฏิบัติใหม่ หรือย้ายศาสนามาใหม่ไปลงเผยแผ่ในเว็บ โดยคัดแยกเนื้อหาในพระไตรปิฎก, วิสุทธิมรรค และคัมภีร์ชั้นอื่นๆ จนถึงหนังสือเฉพาะที่เกี่ยวกับการฝึกอานาปานสติ แบบคัดเฉพาะที่คิดว่าจำเป็นจริงๆ สำคัญจริงๆ ออกจากสื่อธรรมะที่มีมากมายนับไม่ถ้วน ทุกวันนี้ ผมเองก็มีอยู่แต่ยังไม่สมบูรณ์เพียงพอ จึงคิดว่าถามผู้รู้ในห้องศาสนาน่าจะดีกว่า คือ ท่านใดเห็นว่ามีพระไตรปิฎกสูตรไหน หนังสือเล่มใด ควรจะต้องอ่านบ้าง สำหรับผู้เริ่มต้นใหม่ ไม่รู้อะไรเลย แต่สนใจจะฝึกอานาปานสติ หรือผู้ที่ย้ายศาสนาเข้ามาก็อ่านได้ทันทีไม่ต้องเสียเวลาค้นหาอย่างเป็นลำดับไปจนปฏิบัติบรรลุธรรมได้ รบกวนแนะนำได้นะครับ ยกตัวอย่างเช่น
-- ระดับพื้นฐาน
------ ทรงแสดงอานาปานสติสมาธิกถา => http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/r.php?B=1&A=7493&w=%CD%D2%B9%D2%BB%D2%B9%CA%B5%D4
ขอบคุณครับ