เท่าที่อ่านมาก็เข้าใจว่า
A B Cนี่เป็น คะแนนสามระดับของผลผลิต เนื้อของวัว แบบว่า A จะเป็นวัวที่มีปริมาณเนื้อเยอะสุด
ส่วน 5 4 3 2 1 ห้าระดับจะเป็นคะแนนลายไขมันในเนื้อ
ฉะนั้น A5 ก็มีระดับไขมันในเนื้อพอๆ กับ B5
A4 ก็มีระดับไขมันในเนื้อพอๆ กับ B4
(เกรดไขมัน1 นีคงเป็นวัวไม่ได้ขุนเลย ไม่มีมันซักนิด ไม่รู้จะเขียนเกรดทำไม เลยไม่เคยเห็นเนื้อไหนที่มันแปะป้าย A1 B1)
ไม่แน่ใจว่าเข้าใจถูกไหม แต่น่าจะราวๆ นี้
ทีนี้ที่สงสัยก็คือ
- สมมุติว่ามีเนื้อ A5 B5 แบบหั่นเป็นชิ้นสเต็กขนาดเท่าๆกัน แล้วเนี่ย มันมีผลกับคนกินหรือรสชาติมากน้อยแค่ไหน
- แล้วเวลาเป็นชิ้นๆ มันดูออกไหมว่า A B รึ C เพราะส่วนใหญ่เจอแต่ร้านที่บอกเป็น A โดยเฉพาะเนื้อโคขุนไทยนี่บอกมาเป็น A เกือบหมด
(เคยเจอBเป็นเนื้อนำเข้าจากญี่ปุ่น)
อยากสอบถามเรื่องเกรดการใช้คะแนนเนื้อวัว A5 A4 B5 B4 เพิ่มเติมครับ
A B Cนี่เป็น คะแนนสามระดับของผลผลิต เนื้อของวัว แบบว่า A จะเป็นวัวที่มีปริมาณเนื้อเยอะสุด
ส่วน 5 4 3 2 1 ห้าระดับจะเป็นคะแนนลายไขมันในเนื้อ
ฉะนั้น A5 ก็มีระดับไขมันในเนื้อพอๆ กับ B5
A4 ก็มีระดับไขมันในเนื้อพอๆ กับ B4
(เกรดไขมัน1 นีคงเป็นวัวไม่ได้ขุนเลย ไม่มีมันซักนิด ไม่รู้จะเขียนเกรดทำไม เลยไม่เคยเห็นเนื้อไหนที่มันแปะป้าย A1 B1)
ไม่แน่ใจว่าเข้าใจถูกไหม แต่น่าจะราวๆ นี้
ทีนี้ที่สงสัยก็คือ
- สมมุติว่ามีเนื้อ A5 B5 แบบหั่นเป็นชิ้นสเต็กขนาดเท่าๆกัน แล้วเนี่ย มันมีผลกับคนกินหรือรสชาติมากน้อยแค่ไหน
- แล้วเวลาเป็นชิ้นๆ มันดูออกไหมว่า A B รึ C เพราะส่วนใหญ่เจอแต่ร้านที่บอกเป็น A โดยเฉพาะเนื้อโคขุนไทยนี่บอกมาเป็น A เกือบหมด
(เคยเจอBเป็นเนื้อนำเข้าจากญี่ปุ่น)