คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 3
ปรกติยานอวกาศที่เดินทางไกลๆเค้าแทบจะไม่ใช่เชื้อเพลิงเลยนะครับ
เค้าใช้แรงเหวี่ยง จากแรงโน้มถ่วงของดาวแต่ละดวงเหวี่ยงไปเรื่อยๆ (โดยการเคลื่อนที่เฉียดๆดาวดวงนั้น)
วิธีนี้จะทำให้ยานอวกาศมีความเร็วเพิ่มขึ้น โดยไม่ต้องใช้พลังงานจากตนเองมากนัก
แต่ถ้าเรายิงยานอวกาศตรงๆ ให้มีความเร็เท่ากับดาวหาง คงจะต้องเปลืองพลังงานสูงมากครับ
เพราะถึงแม้ว่าในอวกาศจะไม่มีแรงต้าน แต่ก็เป็นผลให้ พลังงานที่ใช้ในการเร่งความเร็วนั้นต้องเพิ่มขึ้นมาก
เพราะแรงทั้งหมด จะต้องถูกแบ่งเป็น แรงกิริยา และปฏิกิริยา หรือเราจ่ายแรงไป แต่ใช้ได้เพียงครึ่งเดียวของที่ใส่เข้าไปครับ
และนั่นอาจะทำให้ยานมีขนาดใหญ่มาก จนไม่สามารถเร่งความเร็วหนีแรงโน้มถ่วงโลก ตอนปล่อยตัวจากฐานปล่อยบนโลกได้ครับ
เค้าใช้แรงเหวี่ยง จากแรงโน้มถ่วงของดาวแต่ละดวงเหวี่ยงไปเรื่อยๆ (โดยการเคลื่อนที่เฉียดๆดาวดวงนั้น)
วิธีนี้จะทำให้ยานอวกาศมีความเร็วเพิ่มขึ้น โดยไม่ต้องใช้พลังงานจากตนเองมากนัก
แต่ถ้าเรายิงยานอวกาศตรงๆ ให้มีความเร็เท่ากับดาวหาง คงจะต้องเปลืองพลังงานสูงมากครับ
เพราะถึงแม้ว่าในอวกาศจะไม่มีแรงต้าน แต่ก็เป็นผลให้ พลังงานที่ใช้ในการเร่งความเร็วนั้นต้องเพิ่มขึ้นมาก
เพราะแรงทั้งหมด จะต้องถูกแบ่งเป็น แรงกิริยา และปฏิกิริยา หรือเราจ่ายแรงไป แต่ใช้ได้เพียงครึ่งเดียวของที่ใส่เข้าไปครับ
และนั่นอาจะทำให้ยานมีขนาดใหญ่มาก จนไม่สามารถเร่งความเร็วหนีแรงโน้มถ่วงโลก ตอนปล่อยตัวจากฐานปล่อยบนโลกได้ครับ
แสดงความคิดเห็น
เป็นไปได้ไหมครับ ที่ในอนาคตจะส่งยานไปในอวกาศโดยให้ยานเกาะกับดาวหางไป
เป็นไปได้ไหมครับที่ในอนาคตเวลาจะส่งยานไปสำรวจไกลๆก็ให้ยานเหล่านั้นเกาะติดกับดาวหางไป เพราะถ้าเป็นอย่างนั้นจะได้ทั้งประหยัดเชื้อเพลิงและได้สำรวจดาวหางนั้นๆไปด้วยในตัว
พอถึงสถานที่ที่เราจะให้ยานไปสำรวจเราค่อยดีดตัวออกมาบินด้วยระบบของยานตามปกติ
หรือถ้าเป็นดาวหางที่วงโคจรไกลจนออกนอกระบบสุริยะ จะได้ใช้เป็นโอกาสสำรวจนอกระบบสุริยะได้ด้วย