พึ่งเริ่มทำกิจการเล็กๆค่ะ "ซึ่งเป็นการขายสินค้าที่ได้รับการยกเว้น VAT"
ทีนี้เราเป็นคนรับช่วงต่อ ไม่ได้ทำเอง แล้วเอามาบวกกำไรนะค่ะ
กำไรโดยรวมยังไม่เยอะ แต่ยอดที่ได้รับจากลูกค้าจะเยอะเพราะเป็นสินค้าราคาสูง (%กำไรน้อยมาก)
กำลังสับสนว่า ยอดที่ต้องเอามาคำนวณว่า เราจะต้องจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มเมื่อไหร่(ถึง1.8ล้าน) คือยอดไหน
ระหว่าง (สมมติว่าราคาสินค้า(ได้รับยกเว้นVAT) 100,000 เราบวก 1,000 ลูกค้าจ่ายเรา 101,000)
1.) ยอดเต็ม 101,000
2.) ยอดกำไร 1,000
สอบถามบัญชีที่รู้จักแล้วค่ะ แต่ไม่มีใครเคยทำสินค้าตัวเดียวกับเรา 2คนตอบกันไปคนละอย่าง งงมากๆ
คนนึงตอบว่า 101,000 เพราะเป็นรายได้ของเรา
อีกคนนึงบอกว่า 1,000 เพราะกรมสรรพากรมีเขียนไว้ว่า "ตัวแทนช่วงมีหน้าที่ต้องเสียภาษี มูลค่าเพิ่มจากมูลค่าของค่าบริการที่ได้รับจากการให้บริการ" คือค่าบริการ1,000 ก็ควรเสียจากยอด 1,000 (เพราะ 100,000 ได้รับการยกเว้น) แปลว่า 1.8ล้านควรคิดจาก 1,000
มึนมากๆเลยค่ะ
ยอดที่ใช้คำนวณว่าจะต้องจดภาษีมูลค่าเพิ่มไหม คือยอดเดียวกับยอดที่ต้องใช้คำนวณในการชำระภาษีมูลค่าเพิ่มรึเปล่าคะ
ทีนี้เราเป็นคนรับช่วงต่อ ไม่ได้ทำเอง แล้วเอามาบวกกำไรนะค่ะ
กำไรโดยรวมยังไม่เยอะ แต่ยอดที่ได้รับจากลูกค้าจะเยอะเพราะเป็นสินค้าราคาสูง (%กำไรน้อยมาก)
กำลังสับสนว่า ยอดที่ต้องเอามาคำนวณว่า เราจะต้องจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มเมื่อไหร่(ถึง1.8ล้าน) คือยอดไหน
ระหว่าง (สมมติว่าราคาสินค้า(ได้รับยกเว้นVAT) 100,000 เราบวก 1,000 ลูกค้าจ่ายเรา 101,000)
1.) ยอดเต็ม 101,000
2.) ยอดกำไร 1,000
สอบถามบัญชีที่รู้จักแล้วค่ะ แต่ไม่มีใครเคยทำสินค้าตัวเดียวกับเรา 2คนตอบกันไปคนละอย่าง งงมากๆ
คนนึงตอบว่า 101,000 เพราะเป็นรายได้ของเรา
อีกคนนึงบอกว่า 1,000 เพราะกรมสรรพากรมีเขียนไว้ว่า "ตัวแทนช่วงมีหน้าที่ต้องเสียภาษี มูลค่าเพิ่มจากมูลค่าของค่าบริการที่ได้รับจากการให้บริการ" คือค่าบริการ1,000 ก็ควรเสียจากยอด 1,000 (เพราะ 100,000 ได้รับการยกเว้น) แปลว่า 1.8ล้านควรคิดจาก 1,000
มึนมากๆเลยค่ะ