รูปนาม คือ กายและจิตว่างเปล่าจากสิ่งที่เป็นตัวเป็นตน เป็นสุข เที่ยง และเป็นอัตตา โดยการพิจารณาความว่างเปล่าอีกอย่างหนึ่งที่สำคัญนั้น ต้องพิจารณาความว่างเปล่าโดยลักษณะ ๔ อย่าง (จตุกฺโกฏิก) คล้อยตามพระสูตรในมัชฌิมนิกาย ดังต่อไปนี้
ปุน จปรํ ภิกฺขเว อริยสาวโก อิติ ปฏิสัญฺจิกขติ นาหํ กฺวจนิ กิญฺจนตสฺมึ, น จ มม กฺวจนิ กิสฺมิญฺจิ กิญฺจนตตฺถีติ
ความว่า "ดูกรภิกษุทั้งหลาย ประการอื่นยังมีอีก อริยสาวกย่อมรู้เห็นดังนี้ว่า
๑. เรา ไม่มีอยู่ ณ ที่ไหน ๆ
๒. เราไม่อยู่ในความกังวลของใคร
๓. บุคคลอื่น ไม่มีอยู่ ณ ที่ไหน ๆ
๔. บุคคลอื่น ไม่อยู่ในความกังวลของเรา
อ้างจาก
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๖
มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์
๖. อาเนญชสัปปายสูตร (๑๐๖)
http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=14&A=1440&Z=1570&pagebreak=0
ศึกษาอรรถกถานี้ ได้ที่ :-
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=14&i=80
เราไม่ได้เป็นของใคร ใครไม่ได้เป็นของเรา เรา เขา ไม่มีตัวตน
ปุน จปรํ ภิกฺขเว อริยสาวโก อิติ ปฏิสัญฺจิกขติ นาหํ กฺวจนิ กิญฺจนตสฺมึ, น จ มม กฺวจนิ กิสฺมิญฺจิ กิญฺจนตตฺถีติ
ความว่า "ดูกรภิกษุทั้งหลาย ประการอื่นยังมีอีก อริยสาวกย่อมรู้เห็นดังนี้ว่า
๑. เรา ไม่มีอยู่ ณ ที่ไหน ๆ
๒. เราไม่อยู่ในความกังวลของใคร
๓. บุคคลอื่น ไม่มีอยู่ ณ ที่ไหน ๆ
๔. บุคคลอื่น ไม่อยู่ในความกังวลของเรา
อ้างจาก
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๖
มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์
๖. อาเนญชสัปปายสูตร (๑๐๖)
http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=14&A=1440&Z=1570&pagebreak=0
ศึกษาอรรถกถานี้ ได้ที่ :-
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=14&i=80