สำหรับผู้ต้องการนำเข้าสินค้า / หลีกเลี่ยงปัญหาสินค้าล่าช้า/ติดต่อหาสินค้ายาก
1 หลังจากที่ผู้ซื้อติดต่อซื้อสินค้าเป็นที่เรียกร้อยแล้ว(ติดต่อกับผู้ขาย) ควรซื้อราคา Ex-works
2 ให้ติดต่อ Forwarder (เอเยนต์ตัวแทนเรือ หรือสายกรบินในประเทศไทย) เพือขอใช้บริการ
2.1 เอเยนต์ดังกล่าวก็จะให้ราคาค่าขนส่งสินค้ากับคุณ(ราคาขนส่งจากสนามบินหรือท่าเรือต้นทาง-ถึงท่าเรือหรือสนามบินที่ไทย)
2.2 เอเยนต์ดังกล่าวจะแจ้งราคาค่าขนส่งสินค้าจากผู้ขายหรือโรงงาน ถึงสนามบินหรือท่าเรือต้นทาง
2.3 เอเยนต์ดังกล่าวจะแจ้งราคาค่าชิปปิ้งที่ต้นทาง
2.4 เอเยนต์ดังกล่าวจะแจ้งราคาค่าชิปปิ้ง + ค่าเอกสาร + ค่าธรรมเนียม + ค่ารถขนส่ง (ราคาบริการที่ไทย)
3 เมื่อผู้ซื้อตกลงใช้บริการแล้ว(พอใจเรื่องราคาทั้งหมด) เอเยนต์ก็จะรับดำเนินการให้ (ทางเครื่องบิน โดยทั่วไปแล้วไม่น่าเกิน 5 วัน จะได้สินค้า)
เอเยนต์ที่ต้นทางจะไปรับสินค้าที่ผู้ขายในต่างประเทศ (ควบคุมงานโดยเอเยนต์ในประเทสไทย)
4 การนำเข้าสินค้าที่แนะนำนั้น(ไม่ควรเป็นสินค้าที่มีตัวแทนจำหน่ายในไทย สินค้าที่ต้องขออนุญาตการนำเข้า) สินค้าที่เป็นของต้องกำกัด
5 เรื่องภาษีนำเข้านั้น ขึ้นกับว่าสินค้านั้นจัดเข้าพิกัดใด(ต้องเสียภาษีเท่าไหร่) ผู้นำเข้าสามารถสอบถามได้ก่อนที่จะนำเข้า
5.1 สินค้าบางประเภท สามารถใช้สิทธิ Form เพื่อลดหย่อนหรือยกเว้นภาษีนำเข้าได้(ต้องตรวจสอบเป็นรายฯ)
ถ้าเป็นการนำเข้าทางเครื่องบิน ก็ขอสงวนสิทธิการขอคืนภาษีไว้ก่อนที่จะทำการเสียภาษี(ยื่น Form ในภายหลัง) เพราะการนำเข้าทางเครื่อง
ผู้ขายไม่สามารถออกเอกสาร Form ได้ทันการ
6 ให้ผู้ที่จะนำเข้าหรือผู้ค้าทั้งหลาย ลองคำนวนค่าใช้จ่ายดูว่าคุ้มหรือไม่ เพราะเป็นการนำเข้าที่อยู่ในระบบของศุลกากร สินค้าบางรายการอาจได้สิทธิ
ไม่ต้องเสียภาษีนำเข้า(สินค้าที่มาจากจีนและประเทศอาเซียน) การดำเนินการอย่างบอกมานั้น ผู้ค้าทั้งหลายจะได้ไม่ต้องนั่งตามสินค้าเป็นเดือน
โดยเฉพาะการนำเข้าทางเครื่องบิน ใช้เวลาไม่เกิน 7 วัน ก้ได้สินค้าแล้วครับ และการจัดส่งสินค้านั้น ก็มีเอกสารแน่นอน( AWB. )
7 การจัดส่งสินค้ามาจากต่างประเทศนั้น ทุกครั้งที่ผู้ขายจัดส่งสินค้าให้กับผู้รับแล้ว(เอเยนต์ที่รับสินค้าที่ต่างประเทศ) ผู้ซื้อต้องของเอกสารการเป็น
เจ้าของสินค้าจากผู้ขาย( AWB.) หรือของจากเอเยนต์ที่ไทยก็ได้ โดยให้ทางต่างประเทศสแกนส่งมาให้ ทั้งนี้เพื่อไว้ติดตามสินค้าได้
และเอสารที่ว่านี้คือ (AWB) ต้องสำแดงชื่อผู้ขายที่ถูกต้อ(ุผู้ขายที่แท้จริง / ไม่ใช่ชื่อชิปปิ้ง) และต้องสำแดงชื่อผู้รับสินค้าที่ถูกต้องคือตัวผู้ซื้อ(ไม่ใช่
สำแดงชื่อชิปปิ้ง)
8 หลักฐานการจ่ายเงินควรเก็บไว้ยืนยัน หากศุลกากรประเมินเหนือจากความเป็นจริง(Invoice ควรให้ผู้ขายสำแดงราคาที่แท้งจริง) เพราะสินค้าที่นำเข้ามาอาจไม่เสียภาษีนำเข้า(ถ้าขอใช้สิทธิถูกต้อง)
แนะนำเรื่องการนำเข้าสินค้า
1 หลังจากที่ผู้ซื้อติดต่อซื้อสินค้าเป็นที่เรียกร้อยแล้ว(ติดต่อกับผู้ขาย) ควรซื้อราคา Ex-works
2 ให้ติดต่อ Forwarder (เอเยนต์ตัวแทนเรือ หรือสายกรบินในประเทศไทย) เพือขอใช้บริการ
2.1 เอเยนต์ดังกล่าวก็จะให้ราคาค่าขนส่งสินค้ากับคุณ(ราคาขนส่งจากสนามบินหรือท่าเรือต้นทาง-ถึงท่าเรือหรือสนามบินที่ไทย)
2.2 เอเยนต์ดังกล่าวจะแจ้งราคาค่าขนส่งสินค้าจากผู้ขายหรือโรงงาน ถึงสนามบินหรือท่าเรือต้นทาง
2.3 เอเยนต์ดังกล่าวจะแจ้งราคาค่าชิปปิ้งที่ต้นทาง
2.4 เอเยนต์ดังกล่าวจะแจ้งราคาค่าชิปปิ้ง + ค่าเอกสาร + ค่าธรรมเนียม + ค่ารถขนส่ง (ราคาบริการที่ไทย)
3 เมื่อผู้ซื้อตกลงใช้บริการแล้ว(พอใจเรื่องราคาทั้งหมด) เอเยนต์ก็จะรับดำเนินการให้ (ทางเครื่องบิน โดยทั่วไปแล้วไม่น่าเกิน 5 วัน จะได้สินค้า)
เอเยนต์ที่ต้นทางจะไปรับสินค้าที่ผู้ขายในต่างประเทศ (ควบคุมงานโดยเอเยนต์ในประเทสไทย)
4 การนำเข้าสินค้าที่แนะนำนั้น(ไม่ควรเป็นสินค้าที่มีตัวแทนจำหน่ายในไทย สินค้าที่ต้องขออนุญาตการนำเข้า) สินค้าที่เป็นของต้องกำกัด
5 เรื่องภาษีนำเข้านั้น ขึ้นกับว่าสินค้านั้นจัดเข้าพิกัดใด(ต้องเสียภาษีเท่าไหร่) ผู้นำเข้าสามารถสอบถามได้ก่อนที่จะนำเข้า
5.1 สินค้าบางประเภท สามารถใช้สิทธิ Form เพื่อลดหย่อนหรือยกเว้นภาษีนำเข้าได้(ต้องตรวจสอบเป็นรายฯ)
ถ้าเป็นการนำเข้าทางเครื่องบิน ก็ขอสงวนสิทธิการขอคืนภาษีไว้ก่อนที่จะทำการเสียภาษี(ยื่น Form ในภายหลัง) เพราะการนำเข้าทางเครื่อง
ผู้ขายไม่สามารถออกเอกสาร Form ได้ทันการ
6 ให้ผู้ที่จะนำเข้าหรือผู้ค้าทั้งหลาย ลองคำนวนค่าใช้จ่ายดูว่าคุ้มหรือไม่ เพราะเป็นการนำเข้าที่อยู่ในระบบของศุลกากร สินค้าบางรายการอาจได้สิทธิ
ไม่ต้องเสียภาษีนำเข้า(สินค้าที่มาจากจีนและประเทศอาเซียน) การดำเนินการอย่างบอกมานั้น ผู้ค้าทั้งหลายจะได้ไม่ต้องนั่งตามสินค้าเป็นเดือน
โดยเฉพาะการนำเข้าทางเครื่องบิน ใช้เวลาไม่เกิน 7 วัน ก้ได้สินค้าแล้วครับ และการจัดส่งสินค้านั้น ก็มีเอกสารแน่นอน( AWB. )
7 การจัดส่งสินค้ามาจากต่างประเทศนั้น ทุกครั้งที่ผู้ขายจัดส่งสินค้าให้กับผู้รับแล้ว(เอเยนต์ที่รับสินค้าที่ต่างประเทศ) ผู้ซื้อต้องของเอกสารการเป็น
เจ้าของสินค้าจากผู้ขาย( AWB.) หรือของจากเอเยนต์ที่ไทยก็ได้ โดยให้ทางต่างประเทศสแกนส่งมาให้ ทั้งนี้เพื่อไว้ติดตามสินค้าได้
และเอสารที่ว่านี้คือ (AWB) ต้องสำแดงชื่อผู้ขายที่ถูกต้อ(ุผู้ขายที่แท้จริง / ไม่ใช่ชื่อชิปปิ้ง) และต้องสำแดงชื่อผู้รับสินค้าที่ถูกต้องคือตัวผู้ซื้อ(ไม่ใช่
สำแดงชื่อชิปปิ้ง)
8 หลักฐานการจ่ายเงินควรเก็บไว้ยืนยัน หากศุลกากรประเมินเหนือจากความเป็นจริง(Invoice ควรให้ผู้ขายสำแดงราคาที่แท้งจริง) เพราะสินค้าที่นำเข้ามาอาจไม่เสียภาษีนำเข้า(ถ้าขอใช้สิทธิถูกต้อง)