TOT เตรียมยกเลิกการทำการตลาด 3G และ ได้มีการรวบข้อพิพาททั้งหมดระหว่างทีโอทีกับคู่สัญญา คิดเป็นมูลค่าความเสียหายทั้งหมดรวม 210,000 ล้านบาท ทั้งกรณีค่า AC,มติให้เอกชนหักส่วนแบ่ง 10% ไปเป็นภาษีสรรพสามิตกิจการโทรคมนาคม
ประเด็นหลัก
ผู้สื่อข่าวรายงานว่า ทีโอทีได้มีการรวบข้อพิพาททั้งหมดระหว่างทีโอทีกับคู่สัญญา คิดเป็นมูลค่าความเสียหายทั้งหมดรวม 210,000 ล้านบาท ประกอบด้วย กรณีที่คู่สัญญาของบริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) ค้างชำระค่าเชื่อมต่อเลขหมาย (เอซี) หรือแอ็คเซสชาร์จ รวม 138,000 ล้านบาท แบ่งเป็นบริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น จำกัด (มหาชน) ดีแทค 97,000 ล้านบาท บริษัท ทรูมูฟ จำกัด 35,000 ล้านบาท บริษัท ดิจิตอลโฟน จำกัด (ดีพีซี) 2,400 ล้านบาท และ กสท 4,200 ล้านบาท นอกจากค่าเอซีแล้ว ยังมีความเสียหายในส่วนของทีโอที ประกอบด้วย ความเสียหายที่เกิดจากผลของคำพิพากษาศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่ง ทางการเมือง คือ บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) หรือ เอไอเอส 74,000 ล้านบาท โดยมูลค่า 50,000 ล้านบาทมาจากการที่คณะรัฐมนตรี (ครม.) ชุด พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร เป็นนายกรัฐมนตรี มีมติให้เอกชนหักส่วนแบ่ง 10% ไปเป็นภาษีสรรพสามิตกิจการโทรคมนาคม และในส่วนของโทรศัพท์พื้นฐาน คือ บริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น 1,400 ล้านบาท และ บริษัท ทีทีแอนด์ที จำกัด (มหาชน) 700 ล้านบาท
สำหรับ แนวทางการยกเลิกธุรกิจที่ไม่ทำกำไร มีทั้งส่วนที่ทีโอทีดำเนินการเองและกับทีโอทีเข้าไปถือหุ้น รวมไปถึงจะพิจารณาปรับเปลี่ยนรูปแบบการให้บริการ 3 จี ที่ปัจจุบันยังขาดทุนอยู่ ดังนั้น มีความเป็นไปได้ที่ทีโอทีจะเป็นผู้ให้เช่าโครงข่ายโทรคมนาคมแทน ทั้งนี้ การเลิกทำตลาดแล้วผันไปให้เช่าโครงข่ายก็เป็นอีกหนึ่งในทางเลือกที่จะช่วย หยุดวิกฤติโครงการ 3 จีได้ แต่ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ คนร.ว่าจะพิจารณาให้ดำเนินการอย่างไรต่อไป โดยคาดว่าภายในปีนี้จะมีความชัดเจนในการดำเนินธุรกิจของทีโอทีอย่างแน่นอน.
______________________________
ทีโอทีจุกคดีพิพาท 2.1 แสนล้าน
นายณัฐวุฒิ อมรวิวัฒน์ โฆษกคณะกรรมการ (บอร์ด) บริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) เปิดเผยว่า ที่ประชุมได้พิจารณาแผนการฟื้นฟูกิจการทีโอที กรณีข้อพิพาททางกฎหมายและแนวทางแก้ไข และนโยบายอื่นๆ ตามนโยบายคณะกรรมการนโยบายและกำกับดูแลรัฐวิสาหกิจ (คนร.) หรือซุปเปอร์บอร์ดรัฐวิสาหกิจ ซึ่งเป็นการพิจารณาอย่างรอบคอบ เพื่อทำให้ทีโอทีมีรายได้และกำไร
ผู้สื่อข่าวรายงานว่า ทีโอทีได้มีการรวบข้อพิพาททั้งหมดระหว่างทีโอทีกับคู่สัญญา คิดเป็นมูลค่าความเสียหายทั้งหมดรวม 210,000 ล้านบาท ประกอบด้วย กรณีที่คู่สัญญาของบริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) ค้างชำระค่าเชื่อมต่อเลขหมาย (เอซี) หรือแอ็คเซสชาร์จ รวม 138,000 ล้านบาท แบ่งเป็นบริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น จำกัด (มหาชน) ดีแทค 97,000 ล้านบาท บริษัท ทรูมูฟ จำกัด 35,000 ล้านบาท บริษัท ดิจิตอลโฟน จำกัด (ดีพีซี) 2,400 ล้านบาท และ กสท 4,200 ล้านบาท นอกจากค่าเอซีแล้ว ยังมีความเสียหายในส่วนของทีโอที ประกอบด้วย ความเสียหายที่เกิดจากผลของคำพิพากษาศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง คือ บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) หรือ เอไอเอส 74,000 ล้านบาท โดยมูลค่า 50,000 ล้านบาทมาจากการที่คณะรัฐมนตรี (ครม.) ชุด พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร เป็นนายกรัฐมนตรี มีมติให้เอกชนหักส่วนแบ่ง 10% ไปเป็นภาษีสรรพสามิตกิจการโทรคมนาคม และในส่วนของโทรศัพท์พื้นฐาน คือ บริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น 1,400 ล้านบาท และ บริษัท ทีทีแอนด์ที จำกัด (มหาชน) 700 ล้านบาท
สำหรับแนวทางการยกเลิกธุรกิจที่ไม่ทำกำไร มีทั้งส่วนที่ทีโอทีดำเนินการเองและกับทีโอทีเข้าไปถือหุ้น รวมไปถึงจะพิจารณาปรับเปลี่ยนรูปแบบการให้บริการ 3 จี ที่ปัจจุบันยังขาดทุนอยู่ ดังนั้น มีความเป็นไปได้ที่ทีโอทีจะเป็นผู้ให้เช่าโครงข่ายโทรคมนาคมแทน ทั้งนี้ การเลิกทำตลาดแล้วผันไปให้เช่าโครงข่ายก็เป็นอีกหนึ่งในทางเลือกที่จะช่วยหยุดวิกฤติโครงการ 3 จีได้ แต่ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ คนร.ว่าจะพิจารณาให้ดำเนินการอย่างไรต่อไป โดยคาดว่าภายในปีนี้จะมีความชัดเจนในการดำเนินธุรกิจของทีโอทีอย่างแน่นอน.
http://www.thairath.co.th/content/446505
TOT เตรียมยกเลิกการทำการตลาด 3G และ ได้มีการรวบข้อพิพาททั้งหมดระหว่างกับคู่สัญญา(มูลค่ารวมที่ต้องสู้คดี 210,000 ล้านบาท
ประเด็นหลัก
ผู้สื่อข่าวรายงานว่า ทีโอทีได้มีการรวบข้อพิพาททั้งหมดระหว่างทีโอทีกับคู่สัญญา คิดเป็นมูลค่าความเสียหายทั้งหมดรวม 210,000 ล้านบาท ประกอบด้วย กรณีที่คู่สัญญาของบริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) ค้างชำระค่าเชื่อมต่อเลขหมาย (เอซี) หรือแอ็คเซสชาร์จ รวม 138,000 ล้านบาท แบ่งเป็นบริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น จำกัด (มหาชน) ดีแทค 97,000 ล้านบาท บริษัท ทรูมูฟ จำกัด 35,000 ล้านบาท บริษัท ดิจิตอลโฟน จำกัด (ดีพีซี) 2,400 ล้านบาท และ กสท 4,200 ล้านบาท นอกจากค่าเอซีแล้ว ยังมีความเสียหายในส่วนของทีโอที ประกอบด้วย ความเสียหายที่เกิดจากผลของคำพิพากษาศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่ง ทางการเมือง คือ บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) หรือ เอไอเอส 74,000 ล้านบาท โดยมูลค่า 50,000 ล้านบาทมาจากการที่คณะรัฐมนตรี (ครม.) ชุด พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร เป็นนายกรัฐมนตรี มีมติให้เอกชนหักส่วนแบ่ง 10% ไปเป็นภาษีสรรพสามิตกิจการโทรคมนาคม และในส่วนของโทรศัพท์พื้นฐาน คือ บริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น 1,400 ล้านบาท และ บริษัท ทีทีแอนด์ที จำกัด (มหาชน) 700 ล้านบาท
สำหรับ แนวทางการยกเลิกธุรกิจที่ไม่ทำกำไร มีทั้งส่วนที่ทีโอทีดำเนินการเองและกับทีโอทีเข้าไปถือหุ้น รวมไปถึงจะพิจารณาปรับเปลี่ยนรูปแบบการให้บริการ 3 จี ที่ปัจจุบันยังขาดทุนอยู่ ดังนั้น มีความเป็นไปได้ที่ทีโอทีจะเป็นผู้ให้เช่าโครงข่ายโทรคมนาคมแทน ทั้งนี้ การเลิกทำตลาดแล้วผันไปให้เช่าโครงข่ายก็เป็นอีกหนึ่งในทางเลือกที่จะช่วย หยุดวิกฤติโครงการ 3 จีได้ แต่ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ คนร.ว่าจะพิจารณาให้ดำเนินการอย่างไรต่อไป โดยคาดว่าภายในปีนี้จะมีความชัดเจนในการดำเนินธุรกิจของทีโอทีอย่างแน่นอน.
______________________________
ทีโอทีจุกคดีพิพาท 2.1 แสนล้าน
นายณัฐวุฒิ อมรวิวัฒน์ โฆษกคณะกรรมการ (บอร์ด) บริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) เปิดเผยว่า ที่ประชุมได้พิจารณาแผนการฟื้นฟูกิจการทีโอที กรณีข้อพิพาททางกฎหมายและแนวทางแก้ไข และนโยบายอื่นๆ ตามนโยบายคณะกรรมการนโยบายและกำกับดูแลรัฐวิสาหกิจ (คนร.) หรือซุปเปอร์บอร์ดรัฐวิสาหกิจ ซึ่งเป็นการพิจารณาอย่างรอบคอบ เพื่อทำให้ทีโอทีมีรายได้และกำไร
ผู้สื่อข่าวรายงานว่า ทีโอทีได้มีการรวบข้อพิพาททั้งหมดระหว่างทีโอทีกับคู่สัญญา คิดเป็นมูลค่าความเสียหายทั้งหมดรวม 210,000 ล้านบาท ประกอบด้วย กรณีที่คู่สัญญาของบริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) ค้างชำระค่าเชื่อมต่อเลขหมาย (เอซี) หรือแอ็คเซสชาร์จ รวม 138,000 ล้านบาท แบ่งเป็นบริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น จำกัด (มหาชน) ดีแทค 97,000 ล้านบาท บริษัท ทรูมูฟ จำกัด 35,000 ล้านบาท บริษัท ดิจิตอลโฟน จำกัด (ดีพีซี) 2,400 ล้านบาท และ กสท 4,200 ล้านบาท นอกจากค่าเอซีแล้ว ยังมีความเสียหายในส่วนของทีโอที ประกอบด้วย ความเสียหายที่เกิดจากผลของคำพิพากษาศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง คือ บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) หรือ เอไอเอส 74,000 ล้านบาท โดยมูลค่า 50,000 ล้านบาทมาจากการที่คณะรัฐมนตรี (ครม.) ชุด พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร เป็นนายกรัฐมนตรี มีมติให้เอกชนหักส่วนแบ่ง 10% ไปเป็นภาษีสรรพสามิตกิจการโทรคมนาคม และในส่วนของโทรศัพท์พื้นฐาน คือ บริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น 1,400 ล้านบาท และ บริษัท ทีทีแอนด์ที จำกัด (มหาชน) 700 ล้านบาท
สำหรับแนวทางการยกเลิกธุรกิจที่ไม่ทำกำไร มีทั้งส่วนที่ทีโอทีดำเนินการเองและกับทีโอทีเข้าไปถือหุ้น รวมไปถึงจะพิจารณาปรับเปลี่ยนรูปแบบการให้บริการ 3 จี ที่ปัจจุบันยังขาดทุนอยู่ ดังนั้น มีความเป็นไปได้ที่ทีโอทีจะเป็นผู้ให้เช่าโครงข่ายโทรคมนาคมแทน ทั้งนี้ การเลิกทำตลาดแล้วผันไปให้เช่าโครงข่ายก็เป็นอีกหนึ่งในทางเลือกที่จะช่วยหยุดวิกฤติโครงการ 3 จีได้ แต่ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ คนร.ว่าจะพิจารณาให้ดำเนินการอย่างไรต่อไป โดยคาดว่าภายในปีนี้จะมีความชัดเจนในการดำเนินธุรกิจของทีโอทีอย่างแน่นอน.
http://www.thairath.co.th/content/446505