ตรรกศาสตร์คือความรู้ถึงความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งเช่นรู้ว่า 1 + 1 ทางกายภาพแล้วต้องได้ 2, ส่วนศิลปะศาสตร์คือความรู้ถึงความสัมพันธ์ของอารมณ์ความรู้สึก เช่นรู้ว่าถ้าเราตีเพื่อนแล้วเขาต้องโกรธ แต่ถ้าเราตีลูกเพื่อสอนเขาเมื่อเขากระทำความผิดแล้วเขาจะรักเราเพราะรู้ว่าเราเอาใจใส่เขา
ดังนั้นการเรียนรู้หรือศึกษาหาข้อสรุป, ทฤษฏีทางวิทยาศาสตร์นั้นเราจำเป็นต้องคัดกรองเพื่อเอาเพียงข้อเท็จจริงออกมาแล้วจึงนำไปสังเคราะห์เพื่อหาข้อสรุปหรือทฤษฏีที่ถูกต้องออกมาเท่านั้นโดยต้องพยายามตรวจสอบทฤษฏีในหลากหลายมุมมองให้รอบด้านให้มากที่สุด ซึ่งผมขอยกตัวอย่างทฤษฏีพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์มาพูดคุย เช่นทฤษฏีกฎการอนุรักษ์พลังงาน (Conservative of Energy) ถ้าเรายกของหนัก 1 กก.ให้สูงขึ้นจากพื้น 1 เมตร ดังนั้นเราจึงทำงานออกไป 1 กก.-เมตร และได้พลังศักดิ์เพิ่มขึ้น 1 กก.-เมตรเช่นกัน ซึ่งมันก็เป็นไปตามกฎอนุรักษ์พลังงาน แต่ถ้าเรายกมันกลับมาวางไว้ที่เดิม ซึ่งเราก็ต้องทำงานออกไปอีก 1 กก.-เมตรหรือน้อยกว่า แต่พลังงานศักดิ์สะสมของเรากลับเท่าเดิมที่จุดเริ่ม
ผมขอยกข้อสังเกตอีก 1 ตัวอย่างที่เกิดแล้วตามธรรมชาติคือโลกของเราได้รับพลังงานความร้อนจากดวงอาทิตย์ตลอดเวลาโดยมีบางส่วนสะท้อนกลับไปสู่จักรวาล(ซึ่งคงต้องน้อยกว่าที่รับเข้ามา) แต่ทำไมโลกของเรากลับมีพลังโดยรวมลดลงจากโลกที่เป็นหินหลอมเหลว แต่ภายหลังจากที่ได้รับพลังงานมาหลายพันล้านปี แต่กลับเปลี่ยนเป็น มีเปลือกหินแข็งหนาหลายสิบกิโลเมตร หรือแม้แต่โลกที่ได้รับความร้อนมาตลอดกลางวันแต่พอเปลี่ยนเป็นเวลากลางคืนอุณหภูมิของบรรยากาศก็ลดลงหลายองศาแล้ว
ดังนั้นผมจึงเห็นว่า การหาข้อสรุปหรืทฤษฏีทางวิทยาศาสตร์ที่ดีสมควรเริ่มจากกาคัดกรองข้อมูลอย่างถูกต้อง, รอบด้านและปราศจากอคติ โดยมีข้อเท็จจริงเป็นตัวตั้ง (ไม่ใช่ใช้ทฤษฎีเป็นตัวตั้ง)
อนึ่งการสร้างสรรค์ของวิทยาศาสตร์ประยุกต์เช่นการประดิษฐ์คิดค้นนั้นคงต้องมีหลักการที่แตกต่างออกไปจากหลักการข้างต้นนี้ เพราะเราต้องสร้างจินตนาการของผลลัพธ์ออกมาก่อนเพื่อเป็นเป้าชี้นำการทำงาน ดังนั้นเราจึงควรมีตัวตั้งเป็นฝันที่เราอยากได้ แล้วจึงนำความรู้ที่มีมาตอบโจทย์เช่นเดียวกับการสร้างสรรค์ทางด้านศิลปะ
นายมา
ปรัชญาและหลักการศึกษาด้านตรรกศาสตร์และศิลปะศาสตร์
ดังนั้นการเรียนรู้หรือศึกษาหาข้อสรุป, ทฤษฏีทางวิทยาศาสตร์นั้นเราจำเป็นต้องคัดกรองเพื่อเอาเพียงข้อเท็จจริงออกมาแล้วจึงนำไปสังเคราะห์เพื่อหาข้อสรุปหรือทฤษฏีที่ถูกต้องออกมาเท่านั้นโดยต้องพยายามตรวจสอบทฤษฏีในหลากหลายมุมมองให้รอบด้านให้มากที่สุด ซึ่งผมขอยกตัวอย่างทฤษฏีพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์มาพูดคุย เช่นทฤษฏีกฎการอนุรักษ์พลังงาน (Conservative of Energy) ถ้าเรายกของหนัก 1 กก.ให้สูงขึ้นจากพื้น 1 เมตร ดังนั้นเราจึงทำงานออกไป 1 กก.-เมตร และได้พลังศักดิ์เพิ่มขึ้น 1 กก.-เมตรเช่นกัน ซึ่งมันก็เป็นไปตามกฎอนุรักษ์พลังงาน แต่ถ้าเรายกมันกลับมาวางไว้ที่เดิม ซึ่งเราก็ต้องทำงานออกไปอีก 1 กก.-เมตรหรือน้อยกว่า แต่พลังงานศักดิ์สะสมของเรากลับเท่าเดิมที่จุดเริ่ม
ผมขอยกข้อสังเกตอีก 1 ตัวอย่างที่เกิดแล้วตามธรรมชาติคือโลกของเราได้รับพลังงานความร้อนจากดวงอาทิตย์ตลอดเวลาโดยมีบางส่วนสะท้อนกลับไปสู่จักรวาล(ซึ่งคงต้องน้อยกว่าที่รับเข้ามา) แต่ทำไมโลกของเรากลับมีพลังโดยรวมลดลงจากโลกที่เป็นหินหลอมเหลว แต่ภายหลังจากที่ได้รับพลังงานมาหลายพันล้านปี แต่กลับเปลี่ยนเป็น มีเปลือกหินแข็งหนาหลายสิบกิโลเมตร หรือแม้แต่โลกที่ได้รับความร้อนมาตลอดกลางวันแต่พอเปลี่ยนเป็นเวลากลางคืนอุณหภูมิของบรรยากาศก็ลดลงหลายองศาแล้ว
ดังนั้นผมจึงเห็นว่า การหาข้อสรุปหรืทฤษฏีทางวิทยาศาสตร์ที่ดีสมควรเริ่มจากกาคัดกรองข้อมูลอย่างถูกต้อง, รอบด้านและปราศจากอคติ โดยมีข้อเท็จจริงเป็นตัวตั้ง (ไม่ใช่ใช้ทฤษฎีเป็นตัวตั้ง)
อนึ่งการสร้างสรรค์ของวิทยาศาสตร์ประยุกต์เช่นการประดิษฐ์คิดค้นนั้นคงต้องมีหลักการที่แตกต่างออกไปจากหลักการข้างต้นนี้ เพราะเราต้องสร้างจินตนาการของผลลัพธ์ออกมาก่อนเพื่อเป็นเป้าชี้นำการทำงาน ดังนั้นเราจึงควรมีตัวตั้งเป็นฝันที่เราอยากได้ แล้วจึงนำความรู้ที่มีมาตอบโจทย์เช่นเดียวกับการสร้างสรรค์ทางด้านศิลปะ
นายมา