สืบเนื่องจากข่าว และหลายกระทู้ที่เกี่ยวข้อง เกี่ยวกับการฝากเงินด้วยเหรียญนั่นแหละครับ
ผมก็เลยเกิดไอเดียว่า "แล้วทำไมไม่ใช้วิธีชั่งน้ำหนักเอาล่ะ?"
(ส่วนหนึ่งของไอเดีย เกิดจากภาพยนตร์เรื่อง Fast Five แต่ในเรื่องเป็นการชั่งธนบัตรน่ะนะ)
โดย ให้พนักงานธนาคาร ทำเพียงแค่แยกสี และประเภทของเหรียญเท่านั้น แล้วก็ชั่งน้ำหนักตามเกณฑ์ไป
โดยเผื่อการสึกกร่อนของเหรียญ เช่นว่า บวกลบไม่เกิน 50, 100 กรัม เป็นต้น
(สมมติว่า เหรียญ 1 บาท 100 เหรียญ เท่ากับ 10 กิโลกรัม แต่ชั่งได้ 9.950 กิโลกรัม ก็ให้นับเป็น 100 บาทได้)
และก็มีคนแย้งผมว่า "น้ำหนักของแต่ละเหรียญ แต่ละสี ไม่เท่ากัน อีกทั้งแต่ละรุ่นปีการผลิต ก็ใช้วัสดุต่างกัน"
แต่ทั้งนี้ มันก็อยู่ในความรับผิดชอบในการคัดแยกเหรียญของพนักงาน ไม่ใช่หรอ?
ก็แค่ให้เพียงคัดแยกสีและประเภทของเหรียญ เท่านั้นเองนี่นา
แต่ทั้งนี้ทั้งนั้น เพื่อความชัวร์ อยากรบกวนผู้รู้หน่อยละกันครับ
ว่าเหรียญแต่ละรุ่นปี ในประเภทราคาเหรียญที่เท่ากันเนี้ย น้ำหนักมันจะต่างกันสักเท่าไร (เช่นว่าน้ำหนักที่เท่ากัน จำนวนเหรียญจะต่างกันเท่าไร)
และเป็นไปได้หรือไม่ ถ้าจะนำวิธีการชั่งน้ำหนักนี้ ให้ธนาคารใช้เพื่อรับฝากเงิน สำหรับลูกค้าธนาคารที่นำเหรียญมาฝากเป็นจำนวนมาก
และถ้าหากธนาคารใช้วิธีนี้ จะใช้เวลามากกว่าหรือน้อยกว่า กับการนับเหรียญ
ว่าผู้รู้ช่วยไขให้กระจ่างทีครับ
ปล. จริงๆ มันก็มีเครื่องนับเหรียญนะ แต่เหมือนธนาคารไทยจะไม่ซื้อ
ทำไมธนาคารไม่ใช้วิธีชั่งน้ำหนักเหรียญในการรับฝากเงินเหรียญจำนวนมาก?
ผมก็เลยเกิดไอเดียว่า "แล้วทำไมไม่ใช้วิธีชั่งน้ำหนักเอาล่ะ?"
(ส่วนหนึ่งของไอเดีย เกิดจากภาพยนตร์เรื่อง Fast Five แต่ในเรื่องเป็นการชั่งธนบัตรน่ะนะ)
โดย ให้พนักงานธนาคาร ทำเพียงแค่แยกสี และประเภทของเหรียญเท่านั้น แล้วก็ชั่งน้ำหนักตามเกณฑ์ไป
โดยเผื่อการสึกกร่อนของเหรียญ เช่นว่า บวกลบไม่เกิน 50, 100 กรัม เป็นต้น
(สมมติว่า เหรียญ 1 บาท 100 เหรียญ เท่ากับ 10 กิโลกรัม แต่ชั่งได้ 9.950 กิโลกรัม ก็ให้นับเป็น 100 บาทได้)
และก็มีคนแย้งผมว่า "น้ำหนักของแต่ละเหรียญ แต่ละสี ไม่เท่ากัน อีกทั้งแต่ละรุ่นปีการผลิต ก็ใช้วัสดุต่างกัน"
แต่ทั้งนี้ มันก็อยู่ในความรับผิดชอบในการคัดแยกเหรียญของพนักงาน ไม่ใช่หรอ?
ก็แค่ให้เพียงคัดแยกสีและประเภทของเหรียญ เท่านั้นเองนี่นา
แต่ทั้งนี้ทั้งนั้น เพื่อความชัวร์ อยากรบกวนผู้รู้หน่อยละกันครับ
ว่าเหรียญแต่ละรุ่นปี ในประเภทราคาเหรียญที่เท่ากันเนี้ย น้ำหนักมันจะต่างกันสักเท่าไร (เช่นว่าน้ำหนักที่เท่ากัน จำนวนเหรียญจะต่างกันเท่าไร)
และเป็นไปได้หรือไม่ ถ้าจะนำวิธีการชั่งน้ำหนักนี้ ให้ธนาคารใช้เพื่อรับฝากเงิน สำหรับลูกค้าธนาคารที่นำเหรียญมาฝากเป็นจำนวนมาก
และถ้าหากธนาคารใช้วิธีนี้ จะใช้เวลามากกว่าหรือน้อยกว่า กับการนับเหรียญ
ว่าผู้รู้ช่วยไขให้กระจ่างทีครับ
ปล. จริงๆ มันก็มีเครื่องนับเหรียญนะ แต่เหมือนธนาคารไทยจะไม่ซื้อ