ขอแนะนำตัวก่อนนะครับ ผลคือคนเดียวกับคนที่ทำกระทู้ "สรุปผลงานนักกีฬาไทยในโอลิมปิก 2012" เมื่อ 2 ปีก่อน
ลิงค์
http://topicstock.ppantip.com/supachalasai/topicstock/2012/08/S12505750/S12505750.html
เนื่องจากกรณี "โค้ชเช" ได้มีการใช้คำว่า "ความรุนแรง" อย่างแพร่หลายในทางที่ผิดเพื่อทำลายภาพลักษณ์ของโค้ชเชซึ่งเป็นเรื่องที่ผมรับไม่ได้
และเรื่อง "ความรุนแรง" ในระดับสากลมันไม่ใช่เรื่องเล็กๆนะครับ การเอามาใช้กับโค้ชเช ไม่ต่างจากการกล่าวหาว่าโค้ชเชเป็นอาชญากรเลยนะครับ
องค์กร WHO ได้ให้คำจำกัดความรุนแรงไว้ว่า “การกระทำที่มีเจตนาที่แสดงออกมาทางร่างกาย การขู่บังคับ การแสดงอำนาจ ต่อตนเอง
บุคคลอื่น กลุ่มบุคคล หรือชุมชน เพื่อก่อให้เกิดการบาดเจ็บ การเสียชีวิต ความสะเทือนใจ ความสูญเสีย หรือการถูกทอดทิ้ง”
คำแปลจากเว็บสารสนเทศสุขภาพไทย ผมแปลเองแล้วมันเข้าใจยาก
โดยให้รู้กันว่า "การกระทำที่มีเจตนาที่แสดงออกมาทางร่างกาย" ให้ร่วมไปถึงคำพูดด้วย
จากนั้นขออธิบายถึงบริบทในการกระทำนะครับ (ขอใช้วิธีคิดตามหลักสากลนะครับ)
การที่ฝ่ายสืบสวนจะระบุว่าสิ่งใดเป็น "ความรุนแรง" เขาจะต้องพิจารณาเหตุการณ์ก่อนนะครับ ผมขอยกตัวอย่างจากคดีต่างๆที่เกิดขึ้นในต่างประเทศ
ทุกคนรู้ว่าผู้ปกครองในสังคมอเมริกันนิยมลงโทษลูกโดยการกักบริเวณ ถ้ากักบริเวณเฉยๆไม่เป็นไรครับ แต่ถ้าล่ามโซ่ นั้นถึงจะเรียกว่าความรุนแรงครับ
กรณีนี้ถึงแม้จะไม่ได้ทำร้ายร่างกาย แต่เป็นการลดคุณค่าความเป็นมนุษย์ คือการล่ามโซ่ ซึ่งเหมือนกับการกระทำกับสัตว์เพื่อไม่ให้มันหนีไป
ส่วนความรุนแรงในครอบครัว ถ้าสามีภรรยาลงไม้ลงมือกันมันก็คือการทะเลาะวิวาท ถ้าเพื่อนบ้านแจ้งตำรวจคุณก็ถูกดำเนินคดีฐานก่อความวุ่นวาย
แต่ถ้าเป็นฝั่งใดฝั่งหนึ่งใช้กำลังหรือวาจาโดยมีเจตนาที่จะทำให้อีกฝั่งรู้สึกต่ำต้อยว่า หรือรู้สึกหวาดกลัวจนต้องทำตามคำสั่งนั้นถึงจะเรียกว่าความรุนแรง
จากยกตัวอย่างมาสองอัน มาเทียบกรณีการลงโทษของโค้ชเช ที่ไม่ถือเป็น "ความรุนแรง"
ข้อแรกเลย คือ โค้ชเช ไม่มีเจตนาจะทำร้ายร่างกาย โอเค การตบหน้า หน้าอาจจะชา หรือกระทุ้งที่ท้องมันอาจจะจุก แต่มันไม่ได้รุนแรงจนถึงขั้นเจ็บหลายวัน
ข้อสอง คือ การลงโทษของโค้ชเช ไม่ได้ลดคุณค่าของคนที่ถูกลงโทษ ทุกครั้งที่ลงโทษจะมีการบอกสาเหตุเสมอ เพื่อที่จะให้รู้ว่าคนๆนั้นกระทำผิด
ข้อสาม คือ การลงโทษของโค้ชเช มีรูปแบบที่แน่นอน ไม่ได้ปกครองด้วยความกลัว หรือแสดงตนเองว่าเหนือกว่าอย่างกรณีสามีทุบตีภรรยา เพราะทุกครั้งหลังจากลงโทษก็จะไปขอโทษ และหายามาให้
ปล. ผมเห็นคนเอางานวิจัยของอเมริกามาเรื่องความรุนแรงในการฝึกนักกีฬา แต่ไม่ได้ระบุว่ารุนแรงยังไง
ผมบอกเลยว่าพวกโค้ชโรตจิตในอมริกาชอบใช้คำพูดดูถูกหยียดหยามนักกีฬา ประมาณว่าไอ้ขึ้แพ้, แกมันอ่อน ให้ฮึดสู้เพราะจงใจให้ผู้ฝึกรู้สึกว่าตัวเองต่ำต้อย ซึ่งมันสามารถเรียกว่า "ความรุนแรง" ไดเลย
จากเหตุผลที่ยกมาจะให้เอาเหมาร่วมไปว่า การลงโทษของโค้ชเช คือ "ความรุนแรง" คงไม่ได้นะครับ ไม่เข้ากันซักนิด
ยิ่งพิจารณาจากหน้า "คุณก้อย" นี้ มันไม่ใช่เลย
[พิเศษ] การลงโทษของโค้ชเชไม่ใช่ "ความรุนแรง" & กฏการเตรียมตัวก่อนลงสนามของเทควันโด
ลิงค์
http://topicstock.ppantip.com/supachalasai/topicstock/2012/08/S12505750/S12505750.html
เนื่องจากกรณี "โค้ชเช" ได้มีการใช้คำว่า "ความรุนแรง" อย่างแพร่หลายในทางที่ผิดเพื่อทำลายภาพลักษณ์ของโค้ชเชซึ่งเป็นเรื่องที่ผมรับไม่ได้
และเรื่อง "ความรุนแรง" ในระดับสากลมันไม่ใช่เรื่องเล็กๆนะครับ การเอามาใช้กับโค้ชเช ไม่ต่างจากการกล่าวหาว่าโค้ชเชเป็นอาชญากรเลยนะครับ
องค์กร WHO ได้ให้คำจำกัดความรุนแรงไว้ว่า “การกระทำที่มีเจตนาที่แสดงออกมาทางร่างกาย การขู่บังคับ การแสดงอำนาจ ต่อตนเอง
บุคคลอื่น กลุ่มบุคคล หรือชุมชน เพื่อก่อให้เกิดการบาดเจ็บ การเสียชีวิต ความสะเทือนใจ ความสูญเสีย หรือการถูกทอดทิ้ง”
คำแปลจากเว็บสารสนเทศสุขภาพไทย ผมแปลเองแล้วมันเข้าใจยาก
โดยให้รู้กันว่า "การกระทำที่มีเจตนาที่แสดงออกมาทางร่างกาย" ให้ร่วมไปถึงคำพูดด้วย
จากนั้นขออธิบายถึงบริบทในการกระทำนะครับ (ขอใช้วิธีคิดตามหลักสากลนะครับ)
การที่ฝ่ายสืบสวนจะระบุว่าสิ่งใดเป็น "ความรุนแรง" เขาจะต้องพิจารณาเหตุการณ์ก่อนนะครับ ผมขอยกตัวอย่างจากคดีต่างๆที่เกิดขึ้นในต่างประเทศ
ทุกคนรู้ว่าผู้ปกครองในสังคมอเมริกันนิยมลงโทษลูกโดยการกักบริเวณ ถ้ากักบริเวณเฉยๆไม่เป็นไรครับ แต่ถ้าล่ามโซ่ นั้นถึงจะเรียกว่าความรุนแรงครับ
กรณีนี้ถึงแม้จะไม่ได้ทำร้ายร่างกาย แต่เป็นการลดคุณค่าความเป็นมนุษย์ คือการล่ามโซ่ ซึ่งเหมือนกับการกระทำกับสัตว์เพื่อไม่ให้มันหนีไป
ส่วนความรุนแรงในครอบครัว ถ้าสามีภรรยาลงไม้ลงมือกันมันก็คือการทะเลาะวิวาท ถ้าเพื่อนบ้านแจ้งตำรวจคุณก็ถูกดำเนินคดีฐานก่อความวุ่นวาย
แต่ถ้าเป็นฝั่งใดฝั่งหนึ่งใช้กำลังหรือวาจาโดยมีเจตนาที่จะทำให้อีกฝั่งรู้สึกต่ำต้อยว่า หรือรู้สึกหวาดกลัวจนต้องทำตามคำสั่งนั้นถึงจะเรียกว่าความรุนแรง
จากยกตัวอย่างมาสองอัน มาเทียบกรณีการลงโทษของโค้ชเช ที่ไม่ถือเป็น "ความรุนแรง"
ข้อแรกเลย คือ โค้ชเช ไม่มีเจตนาจะทำร้ายร่างกาย โอเค การตบหน้า หน้าอาจจะชา หรือกระทุ้งที่ท้องมันอาจจะจุก แต่มันไม่ได้รุนแรงจนถึงขั้นเจ็บหลายวัน
ข้อสอง คือ การลงโทษของโค้ชเช ไม่ได้ลดคุณค่าของคนที่ถูกลงโทษ ทุกครั้งที่ลงโทษจะมีการบอกสาเหตุเสมอ เพื่อที่จะให้รู้ว่าคนๆนั้นกระทำผิด
ข้อสาม คือ การลงโทษของโค้ชเช มีรูปแบบที่แน่นอน ไม่ได้ปกครองด้วยความกลัว หรือแสดงตนเองว่าเหนือกว่าอย่างกรณีสามีทุบตีภรรยา เพราะทุกครั้งหลังจากลงโทษก็จะไปขอโทษ และหายามาให้
ปล. ผมเห็นคนเอางานวิจัยของอเมริกามาเรื่องความรุนแรงในการฝึกนักกีฬา แต่ไม่ได้ระบุว่ารุนแรงยังไง
ผมบอกเลยว่าพวกโค้ชโรตจิตในอมริกาชอบใช้คำพูดดูถูกหยียดหยามนักกีฬา ประมาณว่าไอ้ขึ้แพ้, แกมันอ่อน ให้ฮึดสู้เพราะจงใจให้ผู้ฝึกรู้สึกว่าตัวเองต่ำต้อย ซึ่งมันสามารถเรียกว่า "ความรุนแรง" ไดเลย
จากเหตุผลที่ยกมาจะให้เอาเหมาร่วมไปว่า การลงโทษของโค้ชเช คือ "ความรุนแรง" คงไม่ได้นะครับ ไม่เข้ากันซักนิด
ยิ่งพิจารณาจากหน้า "คุณก้อย" นี้ มันไม่ใช่เลย