ที่เอะอะ ผู้ใหญ่ทำผิดก็ไม่รู้จักอาย แถได้แถ แถไม่ได้ก็ใช้วัฒนธรรมที่ว่าตัวเองเป็ผู้ใหญ่ต้องถูกเสมอมากดขี่บังคับเด็ก หรือผู้ถูกปกครอง
ผมเจอผู้ใหญ่แบบนี้ตั้งแต่ผมจำความได้ ไม่ว่าผู้ใหญ่ภายในบ้าน ที่โรงเรียน ในสังคมงาน และกระทั้งสังคมชนชั้นสูง วัฒนธรรมของไทยที่ว่า เด็กต้องเคารพผู้ใหญ่ ฟังดูเข้าท่าเข้าที แต่ถ้าผู้ใหญ่ทำตัวไม่น่าเคารพ แล้วยังต้องดักดานเคารพอันนี้ผมว่า (เป้นการสร้างวัฒนธรรมเลวๆให้เด็กเอาเป้นเยี่ยงอย่าง) เพราะ เมื่อผู้ใหญ่ทำไม่ถูกแล้วไม่รู้จักขอโทษ ตรงกันข้ามผู้ใหญ่กลับทำกร่างบังคับไม่ให้เด็กเถียงด้วยเหตุผล เด็กก็จะจดจำความ แถ ความกร่างของผู้ใหญ่ แล้วก็ติดนิสัยแบบนี้ไปใช้กับบริวารลูกหลานตัวเองต่อไปในอนาคตเมื่อเด็กโตเป็นผู้ใหญ่ นี่จึงเป็นวัฒนธรรมไทยที่ห่วย เหม็นเน่า ไม่น่าเอาเยี่ยงอย่างและควรปฏวัติวัฒนธรรมที่ว่า "ผู้ใหญ่ถูกเสมอ"ออกไปได้แล้ว(รวมถึงตัวผมที่เป็นผู้ใหญ่ ก็พร้อมรับฟังเด็ก และหากว่าผมผิด ผมไม่อายที่จะขอโทษผู้ที่เด็กกว่า แต่จะให้ผมใช้วัฒนธรรมห่วยๆที่ว่า "ผู้ใหญ่ถูกเสมอแม้ทำผิด" มาใช้ละก้อ บอกตรงๆ ผม "อาย" ผมหน้าไม่ด้านพอ อายเด็กมันครับ ที่ตัวเองผิดยังจะไปแถแล้วบังคับให้เด็กต้องเป็นฝ่ายผิด แล้วให้ตัวเองดูเหมือนคนไม่ผิด
วัฒนธรรมแบบนี้มันก็สะท้อนถึงผู้ใหญ่ในทางการเมือง ผู้ใหญ่ชนชั้นสูงที่ทำตัวไม่น่าเชื่อถือเช่น คนกินเขายายเที่ยง เป็นต้น ผู้ใหญ่แบบนี้แหละที่ไม่สมควรเอาเยี่ยงอย่าง เพราะมือถือสาก ปากถือศิล ดังนั้นผมจะไม่รับไม่เอาไอ้วัฒนธรรมคนดีจอมปลอมที่พวกอำมาตย์สร้างให้ด้วยคำพูดว่า (คนดี มีจริยธรรม คุณธรรม)ของพวกมันมาใช้ เพราะ คำสอนพวกมัน มันคือความจอมปลอม มันไม่ตรงกับการกระทำของพวกมันเอง มันให้คนอื่น มีคุณธรรม จริยธรรม แต่ตัวเองกลับไม่มี ไม่ทำเป็นเยี่ยงอย่าง แล้วคนฉลาด คิดเป็นที่ไหนเขาจะดักดานเชื่อ มันเหมือน ให้คนเลวมาสร้างภาพเป็นคนดีแล้วไปเอาภาษาคนดี(จริง)ที่เขาใช้สอนคนมาสมอ้างแล้วเที่ยวสั่งสอนคนอื่นดีๆนี่เอง....น่ารังเกียจจริงๆวัฒนธรรมผู้ใหญ่ในประเทศนี้
ผมดูหนังฝรั่ง หลายเรื่องที่มีบทที่ว่า พ่อแม่นัด หรือสัญญาอะไรลูกไว้แล้วทำไม่ได้ ลูกเขาจะงอน ส่วนพ่อแม่ก็จะอธิบายด้วยเหตุผลว่า ทำไมทำไม่ได้ตามสัญญาหรือตามนัดหมายได้ แต่สิ่งที่ผมเห็นบทในหนัง หลายๆเรื่อง เมื่อพ่อแม่ทำผิดสัญญาต่อลูก อย่างหนึ่งที่พ่อหรือแม่เขาไม่พูดไม่ได้คือ"พ่อขอโทษ หรือ แม้เสียใจนะ" กับลูก แม้ลูกจะไม่อยากฟังคำขอโทษ หรือคำอธิบายจากพ่อหรือแม่ที่ทำผิดสัญญาต่อลูก แต่ประเดนคือ"นี่แหละวัฒนธรรมที่ดีงาม และเป็นแบบอย่าง ที่ผู้ใหญ่เมื่อทำผิดต้องรู้จักขอโทษเป็น" ผมชอบมากๆเลยวัฒนธรรมแบบนี้ ผมเองก็เอามาใช้กับตัวเอง(แต่ผมไม่มีลูกนะ อิอิ เอามาใช้กับหลาน หรือคนที่เด็กกว่า หากเราผิดเราก็ขอโทษเขา)
กลับมาที่เรื่อง คุณ ฮารา ชินทาโร่ พูดเรื่องวัฒนธรรมการเข้าแถวแล้ว ย้อนนึกถึงคนกรุงฯที่ไปแย่งเอาตั๋วหนังทันที บอกตรงๆ ผมละสมเพชจริงๆ นี่เหรอ เมืองคนดีมีการศึกษาที่ คน กทม.บางส่วนบอกว่า คน ตจว.โง่ ไม่รู้จัก ปชต. แต่ทำไม แค่เรื่องเข้าแถว คนดี คนฉลาดอย่างพวกคุณยังทำไมได้เลย แล้วยังมีหน้ามาแหลดูถูกคนอื่นเขา มีหน้าแหลยกหางว่าพวกตัวพวกตนเป็นคนดีอีก ....ยางอายมีบาง (ผมชอบจังที่ คุณ ฮารา ชินทาโร่ บอกว่า คนญี่ปุ่นรู้จักอาย นี่แหละ พื้นฐานของคนดี ต้อง รู้จักละอายต่อการทำผิด ทำน่าเกลียด)
ปล.สุดท้าย คนกทมฯที่ผมประณาม มิได้หมายความว่าถึงทุกคนนะครับ ผมหมายถึง คนที่ไปแย่งตั๋วหนัง และพวก สลิ่ม กทม.ที่ชอบแหลยกหางว่าพวกตัวเป็นคนดี แต่หาได้มีความละอายแกใจ แบบอย่างคนดีอย่างชาวญี่ปุ่น ที่เขาไม่ต้องแหลว่าเขาเป็นคนดี แต่เขาลงมือทำดีด้วยการกระทำไม่ใช่คำพูดลมปากเหมือนคนดีจอมปลอมประเทศ แหลแลนด์แห่งนี้
http://www.khaosod.co.th/view_newsonline.php?newsid=TVRRd01qazVPRFUyT0E9PQ==§ionid=
ทำไมคนญี่ปุ่นเข้าแถว (ไม่แซงคิว) โดย ฮารา ชินทาโร่
ทำไมคนญี่ปุ่นเข้าแถว (ไม่แซงคิว)
จากเฟซบุ๊ก ฮารา ชินทาโร่
อาจารย์คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
ผมเองก็ไม่ทราบครับ ว่า ทำไมคนญี่ปุ่นเข้าคิวทุกครั้ง
และแทบจะไม่มีใครกล้าแซงคิว
มันเป็นหัวข้อที่น่าสนใจสำหรังงานวิจัยด้วย
สาเหตุหนึ่งที่ปฏิเสธไม่ได้คือ มันเป็นวัฒนธรรมในสังคมญี่ปุ่น ถูกสอนตั้งแต่สมัยอนุบาลศึกษา ทั้งพ่อแม่ ทั้งครู และทั้งบรรดาผู้ใหญ่จะดุเด็กๆ ที่แซงคิวหรือไม่เข้าคิว ดังนั้น ตั้งแต่สมัยเด็ก เราก็เข้าใจว่า การแซงคิวนั้นเป็นสิ่งที่ทำไม่ได้ ที่นี่ขอสังเกตว่า นี่ไม่ใช่เรื่องเกี่ยวกับดีหรือไม่ดีครับ แต่อยู่ที่ว่า ทำได้หรือทำไม่ได้ เนื่องจากว่า ทุกครั้งพยายามจะแซงคิว เด็กๆ จะโดนผู้ใหญ่ดุ และไม่มีผู้ใหญ่ที่แซงคิว ทำให้เด็กรู้ว่า ฉันก็ทำไม่ได้
อีกอย่าง คนที่แซงคิวถูกมองว่าเป็นคนที่ไม่มีคุณค่า เพราะคนนั้นเป็นคนที่เห็นแก่ตัว ไม่เกรงใจคนอื่น และทำให้คนอื่นรอนานเพราะความเห็นแก่ตัวของตนเอง ในที่นี่ ขอสังเกตว่า ชาวญี่ปุ่นเน้นความตรงต่อเวลามาก (ไม่ได้หมายความว่าทุกคนเป็นแบบนั้น แต่โดยส่วนใหญ่จะเป็นอย่างนั้น) ดังนั้น การแซงคิวหมายความว่า คนที่แซงนั้นไม่ให้เกียติต่อเวลาของคนอื่น เมื่อคนใดคนหนึ่งไม่เห็นคุณค่าในเวลาของคนอื่น คนนั้นก็ถูกมองว่าคนที่ไร้คุณค่า อีกนัยหนึ่ง เราก็กลัวว่า ถ้าเราแซงคิว เราจะถูกมองว่าเป็นคนที่ไม่มีคุณค่า ดังนั้นเราก็ไม่ทำ
อีกสาเหตุหนึ่งน่าจะเกี่ยวข้องกับสิทธิและความเท่าเทียมกัน แม้ว่าคนที่อยู่ข้างหน้าของแถวนั้นเป็นคนใดก็ตาม เราก็รู้สึกว่า เขามีสิทธิมากกว่าเรา แม้ว่าเราจะมีอำนาจสูกว่า มีเงินมากกว่า มีการศึกษาสูงกว่า ตำแหน่งที่สูงกว่าก็ตาม ในแถวนั้น คนที่มีสิทธิมากที่สุดก็คือคนที่มาเร็วที่สุด คนนั้นเป็นใคร ไม่ใช่เรื่องสำคัญ
สังคมเราก็ยังเชื่อว่า การแถวคิวนั้นเป็นสิ่งที่ดีที่สุดสำหรับทุกคน เพราะถ้าไม่มีคิว คนที่ได้เปรียบที่สุดก็คือ คนที่ไม่รู้จักคำว่า "อาย" เราก็ไม่อยากจะให้สังคมของเราเป็นสังคมที่คนที่ไม่รู้จักคำว่า อาย ได้เปรียบ ทุกคนก็ยอมรับที่จะเข้าแถว แม้ว่าแถวนั้นจะยาวเป็นหลายกิโลก็ตาม
ในสังคมบางสังคม (ขอโทษด้วยนะครับ รวมถึงสังคมไทย) ในขณะที่เราเข้าแถว ผู้ใหญ่มาถึงที่นั้น มักจะมีคนที่ต้อนรับท่านผู้ใหญ่และบอกว่า "เชิญทางนี้นะค่ะ/ครับ" หลังจากนั้นก็จะให้บริการแก่ท่านผู้ใหญ่คนนั้นก่อนคนที่เข้าแถวเป็นเวลานาน
ถ้าในประเทศญี่ปุ่น อาจจะมีคนที่ต้อนรับท่านผู้ใหญ่ (แม้ว่าหายาก) แต่คนที่ต้อนรับท่านผู้ใหญ่นั้นก็ต้องบอกว่า "ขอบคุณครับท่าน ขอโทษนะครับ วันนี้ คิวมันจะยาวหน่อยครับ"
นี่แหละสังคมและวัฒนธรรมในฝัน ไม่ใช่แบบคนดีจอมปลอมอย่างบ้านเรา/ทำไมคนญี่ปุ่นเข้าแถว(ไม่แซงคิว)โดย ฮารา ชินทาโร่
ผมเจอผู้ใหญ่แบบนี้ตั้งแต่ผมจำความได้ ไม่ว่าผู้ใหญ่ภายในบ้าน ที่โรงเรียน ในสังคมงาน และกระทั้งสังคมชนชั้นสูง วัฒนธรรมของไทยที่ว่า เด็กต้องเคารพผู้ใหญ่ ฟังดูเข้าท่าเข้าที แต่ถ้าผู้ใหญ่ทำตัวไม่น่าเคารพ แล้วยังต้องดักดานเคารพอันนี้ผมว่า (เป้นการสร้างวัฒนธรรมเลวๆให้เด็กเอาเป้นเยี่ยงอย่าง) เพราะ เมื่อผู้ใหญ่ทำไม่ถูกแล้วไม่รู้จักขอโทษ ตรงกันข้ามผู้ใหญ่กลับทำกร่างบังคับไม่ให้เด็กเถียงด้วยเหตุผล เด็กก็จะจดจำความ แถ ความกร่างของผู้ใหญ่ แล้วก็ติดนิสัยแบบนี้ไปใช้กับบริวารลูกหลานตัวเองต่อไปในอนาคตเมื่อเด็กโตเป็นผู้ใหญ่ นี่จึงเป็นวัฒนธรรมไทยที่ห่วย เหม็นเน่า ไม่น่าเอาเยี่ยงอย่างและควรปฏวัติวัฒนธรรมที่ว่า "ผู้ใหญ่ถูกเสมอ"ออกไปได้แล้ว(รวมถึงตัวผมที่เป็นผู้ใหญ่ ก็พร้อมรับฟังเด็ก และหากว่าผมผิด ผมไม่อายที่จะขอโทษผู้ที่เด็กกว่า แต่จะให้ผมใช้วัฒนธรรมห่วยๆที่ว่า "ผู้ใหญ่ถูกเสมอแม้ทำผิด" มาใช้ละก้อ บอกตรงๆ ผม "อาย" ผมหน้าไม่ด้านพอ อายเด็กมันครับ ที่ตัวเองผิดยังจะไปแถแล้วบังคับให้เด็กต้องเป็นฝ่ายผิด แล้วให้ตัวเองดูเหมือนคนไม่ผิด
วัฒนธรรมแบบนี้มันก็สะท้อนถึงผู้ใหญ่ในทางการเมือง ผู้ใหญ่ชนชั้นสูงที่ทำตัวไม่น่าเชื่อถือเช่น คนกินเขายายเที่ยง เป็นต้น ผู้ใหญ่แบบนี้แหละที่ไม่สมควรเอาเยี่ยงอย่าง เพราะมือถือสาก ปากถือศิล ดังนั้นผมจะไม่รับไม่เอาไอ้วัฒนธรรมคนดีจอมปลอมที่พวกอำมาตย์สร้างให้ด้วยคำพูดว่า (คนดี มีจริยธรรม คุณธรรม)ของพวกมันมาใช้ เพราะ คำสอนพวกมัน มันคือความจอมปลอม มันไม่ตรงกับการกระทำของพวกมันเอง มันให้คนอื่น มีคุณธรรม จริยธรรม แต่ตัวเองกลับไม่มี ไม่ทำเป็นเยี่ยงอย่าง แล้วคนฉลาด คิดเป็นที่ไหนเขาจะดักดานเชื่อ มันเหมือน ให้คนเลวมาสร้างภาพเป็นคนดีแล้วไปเอาภาษาคนดี(จริง)ที่เขาใช้สอนคนมาสมอ้างแล้วเที่ยวสั่งสอนคนอื่นดีๆนี่เอง....น่ารังเกียจจริงๆวัฒนธรรมผู้ใหญ่ในประเทศนี้
ผมดูหนังฝรั่ง หลายเรื่องที่มีบทที่ว่า พ่อแม่นัด หรือสัญญาอะไรลูกไว้แล้วทำไม่ได้ ลูกเขาจะงอน ส่วนพ่อแม่ก็จะอธิบายด้วยเหตุผลว่า ทำไมทำไม่ได้ตามสัญญาหรือตามนัดหมายได้ แต่สิ่งที่ผมเห็นบทในหนัง หลายๆเรื่อง เมื่อพ่อแม่ทำผิดสัญญาต่อลูก อย่างหนึ่งที่พ่อหรือแม่เขาไม่พูดไม่ได้คือ"พ่อขอโทษ หรือ แม้เสียใจนะ" กับลูก แม้ลูกจะไม่อยากฟังคำขอโทษ หรือคำอธิบายจากพ่อหรือแม่ที่ทำผิดสัญญาต่อลูก แต่ประเดนคือ"นี่แหละวัฒนธรรมที่ดีงาม และเป็นแบบอย่าง ที่ผู้ใหญ่เมื่อทำผิดต้องรู้จักขอโทษเป็น" ผมชอบมากๆเลยวัฒนธรรมแบบนี้ ผมเองก็เอามาใช้กับตัวเอง(แต่ผมไม่มีลูกนะ อิอิ เอามาใช้กับหลาน หรือคนที่เด็กกว่า หากเราผิดเราก็ขอโทษเขา)
กลับมาที่เรื่อง คุณ ฮารา ชินทาโร่ พูดเรื่องวัฒนธรรมการเข้าแถวแล้ว ย้อนนึกถึงคนกรุงฯที่ไปแย่งเอาตั๋วหนังทันที บอกตรงๆ ผมละสมเพชจริงๆ นี่เหรอ เมืองคนดีมีการศึกษาที่ คน กทม.บางส่วนบอกว่า คน ตจว.โง่ ไม่รู้จัก ปชต. แต่ทำไม แค่เรื่องเข้าแถว คนดี คนฉลาดอย่างพวกคุณยังทำไมได้เลย แล้วยังมีหน้ามาแหลดูถูกคนอื่นเขา มีหน้าแหลยกหางว่าพวกตัวพวกตนเป็นคนดีอีก ....ยางอายมีบาง (ผมชอบจังที่ คุณ ฮารา ชินทาโร่ บอกว่า คนญี่ปุ่นรู้จักอาย นี่แหละ พื้นฐานของคนดี ต้อง รู้จักละอายต่อการทำผิด ทำน่าเกลียด)
ปล.สุดท้าย คนกทมฯที่ผมประณาม มิได้หมายความว่าถึงทุกคนนะครับ ผมหมายถึง คนที่ไปแย่งตั๋วหนัง และพวก สลิ่ม กทม.ที่ชอบแหลยกหางว่าพวกตัวเป็นคนดี แต่หาได้มีความละอายแกใจ แบบอย่างคนดีอย่างชาวญี่ปุ่น ที่เขาไม่ต้องแหลว่าเขาเป็นคนดี แต่เขาลงมือทำดีด้วยการกระทำไม่ใช่คำพูดลมปากเหมือนคนดีจอมปลอมประเทศ แหลแลนด์แห่งนี้
http://www.khaosod.co.th/view_newsonline.php?newsid=TVRRd01qazVPRFUyT0E9PQ==§ionid=
ทำไมคนญี่ปุ่นเข้าแถว (ไม่แซงคิว) โดย ฮารา ชินทาโร่
ทำไมคนญี่ปุ่นเข้าแถว (ไม่แซงคิว)
จากเฟซบุ๊ก ฮารา ชินทาโร่
อาจารย์คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
ผมเองก็ไม่ทราบครับ ว่า ทำไมคนญี่ปุ่นเข้าคิวทุกครั้ง
และแทบจะไม่มีใครกล้าแซงคิว
มันเป็นหัวข้อที่น่าสนใจสำหรังงานวิจัยด้วย
สาเหตุหนึ่งที่ปฏิเสธไม่ได้คือ มันเป็นวัฒนธรรมในสังคมญี่ปุ่น ถูกสอนตั้งแต่สมัยอนุบาลศึกษา ทั้งพ่อแม่ ทั้งครู และทั้งบรรดาผู้ใหญ่จะดุเด็กๆ ที่แซงคิวหรือไม่เข้าคิว ดังนั้น ตั้งแต่สมัยเด็ก เราก็เข้าใจว่า การแซงคิวนั้นเป็นสิ่งที่ทำไม่ได้ ที่นี่ขอสังเกตว่า นี่ไม่ใช่เรื่องเกี่ยวกับดีหรือไม่ดีครับ แต่อยู่ที่ว่า ทำได้หรือทำไม่ได้ เนื่องจากว่า ทุกครั้งพยายามจะแซงคิว เด็กๆ จะโดนผู้ใหญ่ดุ และไม่มีผู้ใหญ่ที่แซงคิว ทำให้เด็กรู้ว่า ฉันก็ทำไม่ได้
อีกอย่าง คนที่แซงคิวถูกมองว่าเป็นคนที่ไม่มีคุณค่า เพราะคนนั้นเป็นคนที่เห็นแก่ตัว ไม่เกรงใจคนอื่น และทำให้คนอื่นรอนานเพราะความเห็นแก่ตัวของตนเอง ในที่นี่ ขอสังเกตว่า ชาวญี่ปุ่นเน้นความตรงต่อเวลามาก (ไม่ได้หมายความว่าทุกคนเป็นแบบนั้น แต่โดยส่วนใหญ่จะเป็นอย่างนั้น) ดังนั้น การแซงคิวหมายความว่า คนที่แซงนั้นไม่ให้เกียติต่อเวลาของคนอื่น เมื่อคนใดคนหนึ่งไม่เห็นคุณค่าในเวลาของคนอื่น คนนั้นก็ถูกมองว่าคนที่ไร้คุณค่า อีกนัยหนึ่ง เราก็กลัวว่า ถ้าเราแซงคิว เราจะถูกมองว่าเป็นคนที่ไม่มีคุณค่า ดังนั้นเราก็ไม่ทำ
อีกสาเหตุหนึ่งน่าจะเกี่ยวข้องกับสิทธิและความเท่าเทียมกัน แม้ว่าคนที่อยู่ข้างหน้าของแถวนั้นเป็นคนใดก็ตาม เราก็รู้สึกว่า เขามีสิทธิมากกว่าเรา แม้ว่าเราจะมีอำนาจสูกว่า มีเงินมากกว่า มีการศึกษาสูงกว่า ตำแหน่งที่สูงกว่าก็ตาม ในแถวนั้น คนที่มีสิทธิมากที่สุดก็คือคนที่มาเร็วที่สุด คนนั้นเป็นใคร ไม่ใช่เรื่องสำคัญ
สังคมเราก็ยังเชื่อว่า การแถวคิวนั้นเป็นสิ่งที่ดีที่สุดสำหรับทุกคน เพราะถ้าไม่มีคิว คนที่ได้เปรียบที่สุดก็คือ คนที่ไม่รู้จักคำว่า "อาย" เราก็ไม่อยากจะให้สังคมของเราเป็นสังคมที่คนที่ไม่รู้จักคำว่า อาย ได้เปรียบ ทุกคนก็ยอมรับที่จะเข้าแถว แม้ว่าแถวนั้นจะยาวเป็นหลายกิโลก็ตาม
ในสังคมบางสังคม (ขอโทษด้วยนะครับ รวมถึงสังคมไทย) ในขณะที่เราเข้าแถว ผู้ใหญ่มาถึงที่นั้น มักจะมีคนที่ต้อนรับท่านผู้ใหญ่และบอกว่า "เชิญทางนี้นะค่ะ/ครับ" หลังจากนั้นก็จะให้บริการแก่ท่านผู้ใหญ่คนนั้นก่อนคนที่เข้าแถวเป็นเวลานาน
ถ้าในประเทศญี่ปุ่น อาจจะมีคนที่ต้อนรับท่านผู้ใหญ่ (แม้ว่าหายาก) แต่คนที่ต้อนรับท่านผู้ใหญ่นั้นก็ต้องบอกว่า "ขอบคุณครับท่าน ขอโทษนะครับ วันนี้ คิวมันจะยาวหน่อยครับ"