สุดยอดความคิดเห็น
ความคิดเห็นที่ 5
ผมจะขออธิบายทีละ scale จากเล็กไปหาใหญ่นะครับ
1. การเคลื่อนที่ของโลก : ตัวเราเคลื่อนที่ไปพร้อมโลก โดยโคจรรอบดวงอาทิตย์
ด้วยความเร็วประมาณ 30 กม./วินาที หรือ 108,000 กม./ชม.
2. การเคลื่อนที่ของระบบสุริยะ : ระบบสุริยะของเราเคลื่อนที่โคจรไปรอบแกนกลางทางช้างเผือก
ด้วยความเร็วประมาณ 230 กม./วินาที โดยโคจรครบ 1 รอบใช้เวลานานถึง 240 ล้านปี
3. การเคลื่อนที่ของทางช้างเผือก : แกแลคซี่ทางช้างเผือกของเรา เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว
ประมาณ 550 กม./วินาที โดยเทียบกับ frame ของอนุภาคโฟตอนของรังสีพื้นหลัง
ซึ่งนี่คือ "กรอบอ้างอิง" สุดท้ายที่ใหญ่ที่สุดแล้ว หมายความว่า (สมมุติ) หากตัวเรา
สามารถไปยืนนิ่ง ๆ ในจักรวาล แล้วมองกลับมาที่ทางช้างเผือก เราจะเห็นว่าทางช้างเผือก
เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 550 กม./วินาที ไปในทิศทางกลุ่มดาวงูไฮดรา โดยเป็นการเคลื่อนที่
สวนทางกับ Andromeda Galaxy และอาจจะกระทบกับในอีกประมาณ 3 - 5,000 ล้านปีจากนี้ครับ
และหากมองเข้าไปในทางช้างเผือก ก็จะเห็นระบบสุริยะเคลื่อนที่วนไปรอบ ๆ ทางช้างเผือก
โดยเห็นโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์อีกที
1. การเคลื่อนที่ของโลก : ตัวเราเคลื่อนที่ไปพร้อมโลก โดยโคจรรอบดวงอาทิตย์
ด้วยความเร็วประมาณ 30 กม./วินาที หรือ 108,000 กม./ชม.
2. การเคลื่อนที่ของระบบสุริยะ : ระบบสุริยะของเราเคลื่อนที่โคจรไปรอบแกนกลางทางช้างเผือก
ด้วยความเร็วประมาณ 230 กม./วินาที โดยโคจรครบ 1 รอบใช้เวลานานถึง 240 ล้านปี
3. การเคลื่อนที่ของทางช้างเผือก : แกแลคซี่ทางช้างเผือกของเรา เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว
ประมาณ 550 กม./วินาที โดยเทียบกับ frame ของอนุภาคโฟตอนของรังสีพื้นหลัง
ซึ่งนี่คือ "กรอบอ้างอิง" สุดท้ายที่ใหญ่ที่สุดแล้ว หมายความว่า (สมมุติ) หากตัวเรา
สามารถไปยืนนิ่ง ๆ ในจักรวาล แล้วมองกลับมาที่ทางช้างเผือก เราจะเห็นว่าทางช้างเผือก
เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 550 กม./วินาที ไปในทิศทางกลุ่มดาวงูไฮดรา โดยเป็นการเคลื่อนที่
สวนทางกับ Andromeda Galaxy และอาจจะกระทบกับในอีกประมาณ 3 - 5,000 ล้านปีจากนี้ครับ
และหากมองเข้าไปในทางช้างเผือก ก็จะเห็นระบบสุริยะเคลื่อนที่วนไปรอบ ๆ ทางช้างเผือก
โดยเห็นโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์อีกที
แสดงความคิดเห็น
เราเคลื่อนที่หรือหยุดนิ่งในจักรวาล