พระพุทธเจ้า ตรัสสอนพระสารีบุตรครั้งหนึ่ง ซึ่งเป็นธรรมที่ควรประพฤติเสมอกับคนอื่น ว่าเราควรนำแต่สิ่งสิ่งหนึ่ง เข้าไปหาคนอื่นเสมอ
สมจิตตสูตร ตรัสว่า
"สารีบุตร เธอพึงศึกษาอย่างนี้ว่า เธอจะเป็นผู้มีอินทรีย์สงบ มีใจระงับอยู่ เธอควรศึกษาเช่นนี้แหละ
สารีบุตร กายกรรมวจีกรรม มโนกรรมของผู้มีอินทรีย์สงบ มีใจระงับ จะสงบระงับ
เพราะฉะนั้นแหละ สารีบุตร เธอพึงศึกษาว่า จะนำกายและจิตที่สงบระงับแล้วเท่านั้นเข้าไปในเพื่อนพรหมจารีทั้งหลาย ดูกรสารีบุตร เธอควรศึกษาเช่นนี้แหละ ดูกรสารีบุตรพวกอัญญเดียรถีย์ปริพาชกที่ไม่ได้ฟังธรรมบรรยายนี้ ได้พากันฉิbหายเสียแล้ว ฯ"
หลายครั้ง ที่คำพูด หรือการให้เหตุผล ก็ไม่ได้ทำให้คนบางคนหายทุกข์ได้ เพราะจิตใจเขายังกระวนกระวาย
แต่เมื่อเขาเห็นอิริยาบถอันสงบ ของคนรอบข้าง คนที่กระวนกระวายอยู่ ร้อนใจอยู่ ก็กลับเย็นใจล
งได้อย่างปาฏิหารย์ เพราะความสงบเยือกเย็นที่คนรอบข้างนำเข้าไป
ความสงบ ช่วยให้คนทุกคนหายจากความทุกข์ได้ พระศาสดาตรัสรับรองในเรื่องนี้ว่า
"นตฺถิ สนฺติปรํ สุขํ
สุขอื่น ยิ่งไปกว่าความสงบ ไม่มี"
************************
สมจิตตสูตร
http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=20&A=1617&Z=1840&pagebreak=0
ศึกษาอรรถกถานี้ ได้ที่ :-
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=20&i=277
อยากให้ความสุขกับใคร ให้สร้างความสงบให้เขา
สมจิตตสูตร ตรัสว่า
"สารีบุตร เธอพึงศึกษาอย่างนี้ว่า เธอจะเป็นผู้มีอินทรีย์สงบ มีใจระงับอยู่ เธอควรศึกษาเช่นนี้แหละ
สารีบุตร กายกรรมวจีกรรม มโนกรรมของผู้มีอินทรีย์สงบ มีใจระงับ จะสงบระงับ
เพราะฉะนั้นแหละ สารีบุตร เธอพึงศึกษาว่า จะนำกายและจิตที่สงบระงับแล้วเท่านั้นเข้าไปในเพื่อนพรหมจารีทั้งหลาย ดูกรสารีบุตร เธอควรศึกษาเช่นนี้แหละ ดูกรสารีบุตรพวกอัญญเดียรถีย์ปริพาชกที่ไม่ได้ฟังธรรมบรรยายนี้ ได้พากันฉิbหายเสียแล้ว ฯ"
หลายครั้ง ที่คำพูด หรือการให้เหตุผล ก็ไม่ได้ทำให้คนบางคนหายทุกข์ได้ เพราะจิตใจเขายังกระวนกระวาย
แต่เมื่อเขาเห็นอิริยาบถอันสงบ ของคนรอบข้าง คนที่กระวนกระวายอยู่ ร้อนใจอยู่ ก็กลับเย็นใจล
งได้อย่างปาฏิหารย์ เพราะความสงบเยือกเย็นที่คนรอบข้างนำเข้าไป
ความสงบ ช่วยให้คนทุกคนหายจากความทุกข์ได้ พระศาสดาตรัสรับรองในเรื่องนี้ว่า
"นตฺถิ สนฺติปรํ สุขํ
สุขอื่น ยิ่งไปกว่าความสงบ ไม่มี"
************************
สมจิตตสูตร
http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=20&A=1617&Z=1840&pagebreak=0
ศึกษาอรรถกถานี้ ได้ที่ :-
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=20&i=277