ในภูมิภาคอาเซียนตอนบนของเรา หากจะพึ่งพาจีนกับญี่ปุ่น หรือประเทศอื่นๆที่ระบบรถไฟความเร็วสูง
คงต้องเป็นแบบนั้น
แต่หากต้องการพึ่งพาตัวเราเอง ระบบผสมผสานระว่างการขนส่งใต้ผิวน้ำ(ไม่ใช่เรือแต่เป็นรถไฟที่สามารถวิ่งใต้ผิวน้ำได้)
และการขยายการขุดคลองแนวลึกที่ทำหน้าที่เป็นเขื่อนได้ไปในตัว
น่าจะเหมาะสมกับเรา ที่เป็นภูมิภาคที่เจอกับปัญหาอุทกภัยและจำเป็นต้องใช้น้ำในการเพาะปลูกตลอดปีมากที่สุด
และต่อไปหากมีการพัฒนาเทคโนโลยีใช้แกลบซึ่งมีสารซิลิก้าจากพืชเป็นจำนวนมากมาผลิตแบตเตอร์รี่
ข้าวไทยจะมีมูลค่าสูงมากขึ้นนอกจากเม็ดข้าวที่ใช้กินเพียงอย่างเดียว
การขยายการขุดคลองแนวลึกที่ทำหน้าที่เป็นเขื่อนได้ไปในตัว
โดยหลักแล้วการรับมือกับปัญหาอุทกภัย เริ่มจากการสร้างเขื่อน ขยายแนวคูคลอง และการจัดการปากแม่น้ำ
เป็นรูปแบบที่ใช้มาตั้งแต่สมัยปฐมกษัตริย์ของจีน สิ่งที่เรายังขาดอยู่ในตอนนี้ ไม่ใช่การสร้างเขื่อนที่รองรับการเก็บน้ำเพิ่ม
แต่เป็นการขยายแนวคูคลองให้ลึกลงไปอีกเพื่อประโยชน์ในการระบายน้ำ
และเพื่อเป็นหลักประกันว่าคูคลองเหล่านั้นจะไม่ตื้นเขินในอนาคต
ก็ควรนำมาใช้ในการสัญจรขนส่ง ก็จะเป็นประโยชน์ในอีกสถานเหมือนกัน
และเมื่อจำเป็นในการขนส่ง ก็จำเป็นจะต้องสร้างให้แม่น้ำลำคลองทั้งหมดมีการเชื่อมโยงถึงกันทั้งประเทศเหมือนถนน
ประโยชน์ที่จะได้รับอีกสองสถาน คือการสร้างทางเชื่อมที่จะผันน้ำจากพื้นที่ที่มีน้ำหลากจนอาจเกิดอุทกภัยไปสู่พื้นที่ที่อาจเกิดภัยแล้งขึ้นได้
และโครงข่ายการเชื่อมโยงของแม่น้ำลำคลองส่วนนี้ ก็จเป็นหลักประกันในการเพาะปลูกสำหรับเกษตรกร มากกว่าการจำนำหรือการค้ำประกันใด
รถไฟที่สามารถวิ่งใต้ผิวน้ำ นั้น
หนึ่งนั้นนอกจากจะเป็นระบบขนส่งที่มีราคาถูกแล้ว (แม้จะมีการลงทุนสูงในการค้นคว้าช่วงต้น)
แต่ต่อไปในอนาคต นอกจากประโยชน์ในกทำหน้าที่สำรวจคูคลองแม่น้ำในระดับความลึก
มันยังจำทำหน้าที่ในการผลักดันกระแสน้ำในทางอ้อม เพื่อให้กระแสน้ำในระบบโครงข่ายคูคลองหมุนเวียนอยู่ตลอด
และหากมีการติดตั้งระบบผลิตกระแสไฟฟ้าลงไป มันจะทำให้เกิดผลประโยชน์เป็นลูกโซ่ไม่รู้จบ
รถไฟความเร็วสูงจำเป็นกับเราจริงๆหรือ
คงต้องเป็นแบบนั้น
แต่หากต้องการพึ่งพาตัวเราเอง ระบบผสมผสานระว่างการขนส่งใต้ผิวน้ำ(ไม่ใช่เรือแต่เป็นรถไฟที่สามารถวิ่งใต้ผิวน้ำได้)
และการขยายการขุดคลองแนวลึกที่ทำหน้าที่เป็นเขื่อนได้ไปในตัว
น่าจะเหมาะสมกับเรา ที่เป็นภูมิภาคที่เจอกับปัญหาอุทกภัยและจำเป็นต้องใช้น้ำในการเพาะปลูกตลอดปีมากที่สุด
และต่อไปหากมีการพัฒนาเทคโนโลยีใช้แกลบซึ่งมีสารซิลิก้าจากพืชเป็นจำนวนมากมาผลิตแบตเตอร์รี่
ข้าวไทยจะมีมูลค่าสูงมากขึ้นนอกจากเม็ดข้าวที่ใช้กินเพียงอย่างเดียว
การขยายการขุดคลองแนวลึกที่ทำหน้าที่เป็นเขื่อนได้ไปในตัว
โดยหลักแล้วการรับมือกับปัญหาอุทกภัย เริ่มจากการสร้างเขื่อน ขยายแนวคูคลอง และการจัดการปากแม่น้ำ
เป็นรูปแบบที่ใช้มาตั้งแต่สมัยปฐมกษัตริย์ของจีน สิ่งที่เรายังขาดอยู่ในตอนนี้ ไม่ใช่การสร้างเขื่อนที่รองรับการเก็บน้ำเพิ่ม
แต่เป็นการขยายแนวคูคลองให้ลึกลงไปอีกเพื่อประโยชน์ในการระบายน้ำ
และเพื่อเป็นหลักประกันว่าคูคลองเหล่านั้นจะไม่ตื้นเขินในอนาคต
ก็ควรนำมาใช้ในการสัญจรขนส่ง ก็จะเป็นประโยชน์ในอีกสถานเหมือนกัน
และเมื่อจำเป็นในการขนส่ง ก็จำเป็นจะต้องสร้างให้แม่น้ำลำคลองทั้งหมดมีการเชื่อมโยงถึงกันทั้งประเทศเหมือนถนน
ประโยชน์ที่จะได้รับอีกสองสถาน คือการสร้างทางเชื่อมที่จะผันน้ำจากพื้นที่ที่มีน้ำหลากจนอาจเกิดอุทกภัยไปสู่พื้นที่ที่อาจเกิดภัยแล้งขึ้นได้
และโครงข่ายการเชื่อมโยงของแม่น้ำลำคลองส่วนนี้ ก็จเป็นหลักประกันในการเพาะปลูกสำหรับเกษตรกร มากกว่าการจำนำหรือการค้ำประกันใด
รถไฟที่สามารถวิ่งใต้ผิวน้ำ นั้น
หนึ่งนั้นนอกจากจะเป็นระบบขนส่งที่มีราคาถูกแล้ว (แม้จะมีการลงทุนสูงในการค้นคว้าช่วงต้น)
แต่ต่อไปในอนาคต นอกจากประโยชน์ในกทำหน้าที่สำรวจคูคลองแม่น้ำในระดับความลึก
มันยังจำทำหน้าที่ในการผลักดันกระแสน้ำในทางอ้อม เพื่อให้กระแสน้ำในระบบโครงข่ายคูคลองหมุนเวียนอยู่ตลอด
และหากมีการติดตั้งระบบผลิตกระแสไฟฟ้าลงไป มันจะทำให้เกิดผลประโยชน์เป็นลูกโซ่ไม่รู้จบ