บันทึกเล่มเล็ก ของชายคนนึงที่เจ๊งหุ้น ตอนที่ 3
ต่อจากตอนที่ 2
http://ppantip.com/topic/31761117
ชื่อ Pearson's chi-squared (เพียร์สัน ไคสแควร์) ฟังดูยากใช้มั๊ยครับ แต่นักสถิติ ทุกคนต้องเคยเรียนมาแน่ๆ ครับ โดยมันคือวิธีการทดสอบ ตัวแปรเชิงคุณภาพ 2 ตัว ว่ามีความสัมพันธ์กันอย่างมี นัยสำคัญ หรือไม่ เอาหละครับ ดูมีความหวังละกับสมมติฐานในใจ รอการทดสอบด้วยวิธี Pearson's chi-squared ซะก่อน รวยแน่ๆ
คราวนี้ผมจะไม่ขออธิบายรายละเอียดในการทดสอบนะครับ
ขอเล่าคร่าวๆ เป็นขั้นตอนตามนี้ครับ
1. เลือกหุ้นที่ชอบ (พื้นฐานกิจการดี)
2. นำมาทดสอบหา เงื่อนไขในการซื้อ เช่น ราคาในวันนั้น ตกลง มากกว่า 2% วอลุ่ม มากกว่าค่าเฉลี่ย 10 วัน
3. นำมาหาจำนวนวันที่ต้องถือ และขาย
4. ทดสอบออกมาจะออกมาเป็น คะแนนระดับความเชื่อมั่น ถ้ามากกว่า 95% ก็ sig คือ ทำตามแผนได้นั่นแหละครับ
วิธีคร่าวๆ ก็ฟังแล้วปวดหัวแล้วใช่มั๊ยครับ แต่ของจริง ผมต้องเขียนโปรแกรมเลยหละครับ
ดูทุ่มเทมาก ผมใช้เวลา ทั้งวันทั้งคืน และ หลายคืนๆๆๆ 555 +
เพื่อ หาคำตอบรวยเร็ว ครับ
หลังจากผมได้ผลลัพธ์ออกมาทั้งหมด ผมก็ใช้เลยครับ และ ก็ดู work เลยนะครับ %lose น้อยมาก แต่ กำไรต่อครั้งจะไม่เยอะ และใช้วงเงินเล่นไม่ได้ เพราะต้องถือหลายวัน บางครั้งเป็นเดือน 2 เดือน เลย
คราวนี้ด้วยความที่ผมใจร้อน เห็นเพื่อนได้หุ้นลิ่ง บ้าง กำไร หลายเท่าตัว บ้าง บวกกับหุ้นดีดี ที่ผมเลือกมา ถ้าใช้วิธีของผมเนี่ยมันก็มีจุดอ่อน คือ ถ้าเป็นช่วงที่ trend ชัด จะได้กำไรต่ำกว่า ผู้ที่ buy & hold ครับ ผมจึงเลิกใช้มัน และกลับมา.............
ทำอะไร เด๋วผมมาเล่าต่อถ้าว่างๆ ครับ
http://www.facebook.com/hoonkakkak
บันทึกเล่มเล็ก ของชายคนนึงที่เจ๊งหุ้น - เรื่องเล่าต่างๆ จากประสบการณ์การเล่นหุ้น - ชีวิตจะดำเนินต่อไปอย่างไรโปรดติดตาม
บันทึกเล่มเล็ก ของชายคนนึงที่เจ๊งหุ้น ตอนที่ 3
ต่อจากตอนที่ 2
http://ppantip.com/topic/31761117
ชื่อ Pearson's chi-squared (เพียร์สัน ไคสแควร์) ฟังดูยากใช้มั๊ยครับ แต่นักสถิติ ทุกคนต้องเคยเรียนมาแน่ๆ ครับ โดยมันคือวิธีการทดสอบ ตัวแปรเชิงคุณภาพ 2 ตัว ว่ามีความสัมพันธ์กันอย่างมี นัยสำคัญ หรือไม่ เอาหละครับ ดูมีความหวังละกับสมมติฐานในใจ รอการทดสอบด้วยวิธี Pearson's chi-squared ซะก่อน รวยแน่ๆ
คราวนี้ผมจะไม่ขออธิบายรายละเอียดในการทดสอบนะครับ
ขอเล่าคร่าวๆ เป็นขั้นตอนตามนี้ครับ
1. เลือกหุ้นที่ชอบ (พื้นฐานกิจการดี)
2. นำมาทดสอบหา เงื่อนไขในการซื้อ เช่น ราคาในวันนั้น ตกลง มากกว่า 2% วอลุ่ม มากกว่าค่าเฉลี่ย 10 วัน
3. นำมาหาจำนวนวันที่ต้องถือ และขาย
4. ทดสอบออกมาจะออกมาเป็น คะแนนระดับความเชื่อมั่น ถ้ามากกว่า 95% ก็ sig คือ ทำตามแผนได้นั่นแหละครับ
วิธีคร่าวๆ ก็ฟังแล้วปวดหัวแล้วใช่มั๊ยครับ แต่ของจริง ผมต้องเขียนโปรแกรมเลยหละครับ
ดูทุ่มเทมาก ผมใช้เวลา ทั้งวันทั้งคืน และ หลายคืนๆๆๆ 555 +
เพื่อ หาคำตอบรวยเร็ว ครับ
หลังจากผมได้ผลลัพธ์ออกมาทั้งหมด ผมก็ใช้เลยครับ และ ก็ดู work เลยนะครับ %lose น้อยมาก แต่ กำไรต่อครั้งจะไม่เยอะ และใช้วงเงินเล่นไม่ได้ เพราะต้องถือหลายวัน บางครั้งเป็นเดือน 2 เดือน เลย
คราวนี้ด้วยความที่ผมใจร้อน เห็นเพื่อนได้หุ้นลิ่ง บ้าง กำไร หลายเท่าตัว บ้าง บวกกับหุ้นดีดี ที่ผมเลือกมา ถ้าใช้วิธีของผมเนี่ยมันก็มีจุดอ่อน คือ ถ้าเป็นช่วงที่ trend ชัด จะได้กำไรต่ำกว่า ผู้ที่ buy & hold ครับ ผมจึงเลิกใช้มัน และกลับมา.............
ทำอะไร เด๋วผมมาเล่าต่อถ้าว่างๆ ครับ
http://www.facebook.com/hoonkakkak
บันทึกเล่มเล็ก ของชายคนนึงที่เจ๊งหุ้น - เรื่องเล่าต่างๆ จากประสบการณ์การเล่นหุ้น - ชีวิตจะดำเนินต่อไปอย่างไรโปรดติดตาม