เมื่อวันที่ 22 มกราคม 2556 ศาลฎีกา มีคำพิพากษาเลขที่ 435/2556 กรณีที่ พ.ต.หญิงสินเสริม เลขะวนิช โดยนางกัลยาณี รุทระกาญจน์ มูลนิธิสินเสริมธรรม และ น.ส.สุภา วงศ์เสนา ร่วมกันเป็นโจทก์ ฟ้องร้อง นางทีปสุรางค์ ภักดีธนากุล (สกุลเดิม สุนทรพันธ์) ภรรยานายจรัญ ภักดีธนากุล ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ และนางจินดา สุนทรพันธ์ กรณีที่โจทก์เป็นเจ้าของกรรมสิทธ์ในที่ดินตามโฉนดที่ดินเลขที่ 20550 และ 23716 ถึง 23765 ต.ควนลัง อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา รวม 51 แปลง โดยเมื่อปี 2538
โดยในการพิพากษาของ “ศาลฎีกา” ได้วินิจฉัยว่า โจทก์และโจทก์ร่วมไม่ได้ขายที่ดินพิพาทให้แก่จำเลยทั้งสอง แต่เป็นกรณีที่ นางทีปสุรางค์ จำเลยที่ 1 หลอกลวงให้โจทก์และโจทก์ร่วมลงลายมือชื่อในหนังสือมอบอำนาจ โดยไม่ได้กรอกข้อความแล้วนำไปโอนที่ดินพิพาทให้แก่ตัวเอง และจำเลยที่ 2 ซึ่งมิได้เป็นไปตามเจตนาของโจทก์และโจทก์ร่วม ที่มอบอำนาจให้นางทีปสุรางค์ จำเลยที่ 1 ไปแบ่งแยกที่ดินพิพาท เป็นแปลงย่อยเพื่อขายต่อเท่านั้น การกระทำของนางทีปสุรางค์ จำเลยที่ 1 ไม่ชอบด้วยกฎหมาย ดังนั้นความเสียหายต่างๆ หากเกิดขึ้นจริงดังที่นางทีปสุรางค์ จำเลยที่ 1 กล่าวอ้าง ก็เกิดจากการทำผิดกฎหมายและศีลธรรมทั้งสิ้น
โดยพิพากษากลับให้นางทีปสุรางค์ จำเลยที่ 1 ไปจดทะเบียนเพิกถอนนิติกรรม โอนขายที่ดินตามหนังสือมอบอำนาจฉบับลงวันที่ 2 ตุลาคม 2538 ทุกฉบับ ระหว่างโจทก์และโจทก์ร่วมกับจำเลยที่ 1 ในที่ดินพิพาทจำนวน 35 แปลงแล้วทะเบียนโอนกลับมาเป็นชื่อโจทก์และโจทก์ร่วม โดยให้จำเลยที่ 1 เป็นผู้ออกค่าใช้จ่ายทั้งสิ้น ให้จำเลยที่ 2 ไปจดทะเบียนเพิกถอนนิติกรรม การโอนขายที่ดิน ตามหนังสือมอบอำนาจ ฉบับวันที่ 2 ตุลาคม 2538 และฉบับลงวันที่ 5 พฤษภาคม 2539 ระหว่างโจทก์และโจกท์ร่วมกับจำเลยที่ 2 ในที่ดินพิพาทจะนวน 16 แปลง แล้วจดทะเบียนโอนกลับมาเป็นชื่อโจทก์และโจกท์ร่วมโดยให้จำเลยที่ 2 เป็นผู้ออกค่าใช้จ่ายทั้งสิ้น หากจำเลยทั้งสองไม่ปฏิบัติตาม ให้ถือเอาคำพิพากษาแทนการแสดงเจตนาของจำเลยทั้งสอง หากจำเลยทั้งสองไม่อาจโอนที่ดินกลับมาเป็นชื่อโจทก์และโจทก์ร่วมได้ ให้จำเลยทั้งสองร่วมกัน ชดใช้ราคาที่ดิน 45,000,000 บาท ให้แก่โจทก์และโจทก์ร่วม กับให้จำเลยทั้งสองร่วมกันใช้ค่าฤชาธรรมเนียม ทั้งสามศาลแทนโจทก์และโจทก์ร่วม โดยกำหนดค่าทนายความ 100,000 บาท ค่าฤชาธรรมเนียม ในส่วนของฟ้องแย้งทั้ง 3 ศาลให้
นี้ขนาดระดับผู้พิพากษาศาลรัฐธรรมนูญ นะครับ ใครเคยเป็นคดีความของ พ่อ แม่ ญาติพี่น้องของผู้พิพากษาบ้างละเนี่ย
ถ้าเมีย ไปเที่ยวโกงที่ดินคนอื่นแล้ว โอกาสที่ผัวจะไม่รู้เรื่องเลยซักนิดเป็นไปได้แค่ไหน ในเมื่อผัวเป็นผู้พิพากษา
โดยในการพิพากษาของ “ศาลฎีกา” ได้วินิจฉัยว่า โจทก์และโจทก์ร่วมไม่ได้ขายที่ดินพิพาทให้แก่จำเลยทั้งสอง แต่เป็นกรณีที่ นางทีปสุรางค์ จำเลยที่ 1 หลอกลวงให้โจทก์และโจทก์ร่วมลงลายมือชื่อในหนังสือมอบอำนาจ โดยไม่ได้กรอกข้อความแล้วนำไปโอนที่ดินพิพาทให้แก่ตัวเอง และจำเลยที่ 2 ซึ่งมิได้เป็นไปตามเจตนาของโจทก์และโจทก์ร่วม ที่มอบอำนาจให้นางทีปสุรางค์ จำเลยที่ 1 ไปแบ่งแยกที่ดินพิพาท เป็นแปลงย่อยเพื่อขายต่อเท่านั้น การกระทำของนางทีปสุรางค์ จำเลยที่ 1 ไม่ชอบด้วยกฎหมาย ดังนั้นความเสียหายต่างๆ หากเกิดขึ้นจริงดังที่นางทีปสุรางค์ จำเลยที่ 1 กล่าวอ้าง ก็เกิดจากการทำผิดกฎหมายและศีลธรรมทั้งสิ้น
โดยพิพากษากลับให้นางทีปสุรางค์ จำเลยที่ 1 ไปจดทะเบียนเพิกถอนนิติกรรม โอนขายที่ดินตามหนังสือมอบอำนาจฉบับลงวันที่ 2 ตุลาคม 2538 ทุกฉบับ ระหว่างโจทก์และโจทก์ร่วมกับจำเลยที่ 1 ในที่ดินพิพาทจำนวน 35 แปลงแล้วทะเบียนโอนกลับมาเป็นชื่อโจทก์และโจทก์ร่วม โดยให้จำเลยที่ 1 เป็นผู้ออกค่าใช้จ่ายทั้งสิ้น ให้จำเลยที่ 2 ไปจดทะเบียนเพิกถอนนิติกรรม การโอนขายที่ดิน ตามหนังสือมอบอำนาจ ฉบับวันที่ 2 ตุลาคม 2538 และฉบับลงวันที่ 5 พฤษภาคม 2539 ระหว่างโจทก์และโจกท์ร่วมกับจำเลยที่ 2 ในที่ดินพิพาทจะนวน 16 แปลง แล้วจดทะเบียนโอนกลับมาเป็นชื่อโจทก์และโจกท์ร่วมโดยให้จำเลยที่ 2 เป็นผู้ออกค่าใช้จ่ายทั้งสิ้น หากจำเลยทั้งสองไม่ปฏิบัติตาม ให้ถือเอาคำพิพากษาแทนการแสดงเจตนาของจำเลยทั้งสอง หากจำเลยทั้งสองไม่อาจโอนที่ดินกลับมาเป็นชื่อโจทก์และโจทก์ร่วมได้ ให้จำเลยทั้งสองร่วมกัน ชดใช้ราคาที่ดิน 45,000,000 บาท ให้แก่โจทก์และโจทก์ร่วม กับให้จำเลยทั้งสองร่วมกันใช้ค่าฤชาธรรมเนียม ทั้งสามศาลแทนโจทก์และโจทก์ร่วม โดยกำหนดค่าทนายความ 100,000 บาท ค่าฤชาธรรมเนียม ในส่วนของฟ้องแย้งทั้ง 3 ศาลให้
นี้ขนาดระดับผู้พิพากษาศาลรัฐธรรมนูญ นะครับ ใครเคยเป็นคดีความของ พ่อ แม่ ญาติพี่น้องของผู้พิพากษาบ้างละเนี่ย